E-LEARNING
เกณฑ์มาตรฐานผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม
พ.ศ. 2545
(การประชุมคณะกรรมการแพทยสภา
14 พย. 2545)
ส่วนที่เกี่ยวข้องกับเรื่องตา
หมวดที่
2 จำแนกตามระบบหรือชนิดของความผิดปกติ
2.1
อาการและปัญหาสำคัญ
ผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมต้องมีความรู้เกี่ยวกับพยาธิกำเนิด
พยาธิสรีรวิทยา สามารถวินิจฉัยแยกโรคและปฏิบัติรักษาเบื้องต้นได้เหมาะสมสำหรับอาการสำคัญ
ดังต่อไปนี้
..
-เคืองตา ตาแดง ปวดตา
มองเห็นไม่ชัด ตาบอด ตาโปน
ตาเหล่
.
2.2
โรค/ภาวะ/กลุ่มอาการฉุกเฉิน
(รวมทุกระบบ)
กลุ่มที่ 1 โรค/กลุ่มอาการ/ภาวะฉุกเฉินที่ต้องรู้กลไกการเกิดโรค
สามารถให้การวินิจฉัยเบื้องต้นและให้การบำบัดรักษาได้อย่างทันท่วงทีตามความเหมาะสมของสถานการณ์
รู้ข้อจำกัดของตนเอง
และปรึกษาผู้เชี่ยวชาญหรือผู้มีประสบการณ์มากกว่าได้อย่างเหมาะสม
..
-acute corneal abrasion and ulcer
-acute glaucoma
.
2.3
โรคตามระบบ
I. Infectious and parasitic diseases
II. Neoplasm
กลุ่มที่ 3 โรค/กลุ่มอาการ/ภาวะที่ต้องรู้กลไกการเกิดโรค
สามารถให้การวินิจฉัยแยกโรค
และรู้หลักในการดูแลรักษา
แก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า ตัดสินใจส่งต่อผู้ป่วยไปยังผู้เชี่ยวชาญ
รวมทั้งการฟื้นฟูสภาพ
การส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
- benign and malignant neoplasm of eyes
-
VII. Disorders of the eye and adnexa
กลุ่มที่ 2 โรค/กลุ่มอาการ/ภาวะที่ต้องรู้กลไกการเกิดโรค
สามารถให้การวินิจฉัย
ให้การบำบัดรักษาได้ด้วยตนเอง
รวมทั้งการฟื้นฟูสภาพ
การส่งเสริมสุขภาพ
และการป้องกันโรคในกรณีที่โรครุนแรง
หรือซับซ้อนเกินความสามารถ
ให้พิจารณาแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าและส่งต่อผู้ป่วยต่อไปยังผู้เชี่ยวชาญ
-hordeolum
-chalazion
-conjunctivitis
กลุ่มที่ 3 โรค/กลุ่มอาการ/ภาวะที่ต้องรู้กลไกการเกิดโรค
สามารถให้การวินิจฉัยแยกโรค
และรู้หลักในการดูแลรักษา
แก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า ตัดสินใจส่งต่อผู้ป่วยไปยังผู้เชี่ยวชาญ
รวมทั้งการฟื้นฟูสภาพ
การส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
-disorders of ocular muscles, refraction & accommodation (strabismus,
myopia, presbyopia, hypermetropia, astigmatism)
-dacryostenosis, dacryocystitis
-pterygium
-keratitis, corneal ulcer
-uveitis
-cataract
-glaucoma
XIX.
Injury, poisoning and consequences of external causes
กลุ่มที่ 2 โรค/กลุ่มอาการ/ภาวะที่ต้องรู้กลไกการเกิดโรค
สามารถให้การวินิจฉัย
ให้การบำบัดรักษาได้ด้วยตนเอง
รวมทั้งการฟื้นฟูสภาพ
การส่งเสริมสุขภาพ
และการป้องกันโรคในกรณีที่โรครุนแรง
หรือซับซ้อนเกินความสามารถ
ให้พิจารณาแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าและส่งต่อผู้ป่วยต่อไปยังผู้เชี่ยวชาญ
-eye injury and foreign body on external eye
-burns
หมวดที่
3 ทักษะการตรวจโดยใช้เครื่องมือพื้นฐาน
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
และการทำหัตถการ
3.1
การตรวจเพื่อการวินิจฉัยโดยใช้เครื่องมือพื้นฐาน
สามารถบอกข้อบ่งชี้
ขั้นตอนการตรวจ กระทำได้ด้วยตนเองและแปลผลการตรวจได้ถูกต้อง
3.1.4 Snellen chart (visual acuity measurement)
3.1.5 Ishihara chart (color blindness measurement)
3.1.6 Schiotz tonometer
3.1.7 Ophthalmoscope
.
3.5
หัตถการที่มีความจำเป็นหรือมีส่วนช่วยในการแก้ไขปัญหาสุขภาพ
3.5.2 หัตถการที่มีความซับซ้อนกว่าหัตถการพื้นฐาน
และมีความสำคัญต่อการรักษา
เมื่อจบแพทยศาสตร์บัณฑิต
สามารถบอกข้อบ่งชี้ ขั้นตอนวิธีการทำ
บอกภาวะแทรกซ้อนที่อาจจะเกิดได้ถูกต้อง
สามารถทำภายใต้การแนะนำได้ถูกต้อง
และเมื่อผ่านการเพิ่มพูนทักษะแล้วต้องสามารถทำได้ด้วยตนเอง
-removal of foreign body from conjunctiva
.
3.5.5 หัตถการเฉพาะทาง
-incision and curettage (extenal hordeolum)
-excision of pterygium
-cataract and glaucoma surgery
-probing and irrigation of nasolacrimal duct