E-LEARNING
คู่มือแพทย์ประจำบ้าน ปีการศึกษา 2549
สารบัญ
หน้า
คำต้อนรับ
3
คำนำ
4
ตอนที่ 1 : ข้อมูลทั่วไปและแนวทางกิจกรรมแพทย์ประจำบ้านปี
1หมายเลขโทรศัพท์
รพ.ธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ
5
อาจารย์ประจำภาควิชาจักษุวิทยา
7
แพทย์ประจำบ้านจักษุวิทยา
9
Activity
อาจารย์
12
หน้าที่
Resident 1
14
ตารางสอนแพทย์ประจำบ้านปีที่
1
32
ตอนที่ 2 : ความรู้พื้นฐานทางจักษุวิทยา
Basic
Ophthalmology and Examination
39
คำย่อที่ควรทราบใน
Ophthalmology
67
ยาหยอดตาที่มีใช้ในโรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ
73
Cycloplegics
& Mydriatics
77
วิธีผสมยาทางตาที่ใช้บ่อย
77
Intraocular
Drugs Preparation
78
IOL
& A-Constance
80
เงื่อนไขการเรียกเก็บเงินผู้ป่วยสิทธิต่างๆ
81
หน้า
ICD
10
84
ICD
9-CM
92
ตอนที่ 3 : หัตถการทางจักษุวิทยาที่ควรทราบ
Ophthalmic
Anesthesia
98
Facial
block
98
Retrobulbar
block
99
Corneal
Foreign Body Removal
100
Chalazion
incision and drainage
100
Pterygium
excision
101
Evisceration
102
ECCE
+ IOL
103
Reference
105
คำต้อนรับ
ยินดีต้อนรับแพทย์ประจำบ้านจักษุวิทยาทุกคน
วันพฤหัสบดีที่ 1 มิถุนายน
2549 เป็นวันที่ถือเป็นจุดเริ่มต้นแห่งเส้นทางการเป็นจักษุแพทย์ของน้องๆทุกคน
ในนามของอาจารย์ในภาควิชาจักษุวิทยาทุกท่านขอต้อนรับแพทย์ประจำบ้านใหม่เข้าสู่การเป็นสมาชิกในภาควิชาจักษุวิทยา
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
เพื่อร่วมใช้เวลา 3
ปีนี้อย่างคุ้มค่า
เป็นสมาชิกที่มีคุณค่าของสังคมแห่งนี้
และร่วมสร้างความภาคภูมิใจในฐานะเป็นแพทย์ประจำบ้านจักษุวิทยารุ่นแรกของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
หนังสือคู่มือเล่มนี้จัดทำขึ้นด้วยมุ่งหวังว่าจะสามารถช่วยลดความสับสนในการเริ่มต้นชีวิตการเป็นแพทย์ประจำบ้าน
และก่อให้เกิดความเข้าใจในการอยู่ร่วมกัน
หากแม้นว่าจะสามารถเป็นเพียงจุดเริ่มต้นของพวกเราในการเป็นแพทย์ที่ดีของผู้ป่วย
ผู้ร่วมงานที่ดีของพี่เจ้าหน้าที่
ลูกศิษย์ที่ดีของอาจารย์
และจักษุแพทย์ที่ดีในอนาคตก็นับได้ว่าเป็นความสำเร็จที่ยิ่งใหญ่ของตัวเราเองและเป็นความภาคภูมิใจของอาจารย์ทุกคนตลอดไป
ด้วยรักและปรารถนาดี
อ.นพ.ศักดิ์ชัย
วงศกิตติรักษ์
หัวหน้าภาควิชาจักษุวิทยา
คณะแพทยศาสตร์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
1 มิถุนายน
2549
คำนำ
คู่มือแพทย์ประจำบ้านใหม่
ภาควิชาจักษุวิทยาฉบับนี้
จัดทำขึ้นเป็นฉบับปฐมฤกษ์
สำหรับแพทย์ประจำบ้านจักษุวิทยารุ่นที่
1 ของคณะแพทยศาสตร์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ด้วยเล็งเห็นว่าการเริ่มต้นการศึกษาต่อเป็นแพทย์เฉพาะทางซึ่งต้องการความพร้อมทั้งทางด้านวิชาการ
ทักษะและเจตคติที่ดีในการปฏิบัติงาน
อาจทำให้แพทย์ประจำบ้านใหม่ต้องใช้เวลาและความพยายามในการปรับตัวค่อนข้างมาก
โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเรียนทางด้านจักษุวิทยาเกือบถือได้ว่าเป็นการเริ่มต้นเรียนรู้ในสิ่งใหม่ของผู้ที่เข้ามาเป็นแพทย์ประจำบ้านใหม่
ซึ่งการเริ่มต้นเรียนรู้ในสิ่งที่ถูกต้องตั้งแต่แรก
จะเป็นการก้าวที่มั่นคงถูกต้องจนประสบความสำเร็จในการเรียนต่อไป
โดยเนื้อหาในคู่มือนี้จะแบ่งออกเป็น
3 ตอนคือตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปและแนวทางกิจกรรมแพทย์ประจำบ้านปีที่
1 ตอนที่
2 ความรู้พื้นฐานทางจักษุวิทยา
และตอนที่ 3
หัตถการทางจักษุวิทยาที่ควรทราบ
หวังเป็นอย่างยิ่งว่าน้องๆคงจะได้ใช้ประโยชน์จากคู่มือนี้อย่างคุ้มค่าเพื่อประโยชน์ต่อผู้ป่วยและตัวน้องเองในอนาคต
ในการดำเนินการจัดทำคู่มือนี้
ผู้จัดทำขอขอบพระคุณ อ.นพ.ศักดิ์ชัย
วงศกิตติรักษ์
หัวหน้าภาควิชาจักษุวิทยา
ที่กรุณาให้คำแนะนำในการจัดทำ
อ.พญ.ทัศนีย์
ศิริกุล อาจารย์ผู้ดูแลแพทย์ประจำบ้าน พญ.สุนทรี
ธิติวิเชียรเลิศ
ที่ช่วยรวบรวมข้อมูล
และคณาจารย์ทุกท่านที่มีส่วนสำคัญในการเตรียมหลักสูตรแพทย์ประจำบ้านจักษุวิทยาให้สำเร็จลุล่วงไปด้วยดี
ท้ายที่สุดนี้หากผู้อ่านหรือผู้รู้พบว่าคู่มือนี้มีสิ่งใดผิดพลาดหรือมีข้อเสนอแนะเพิ่มเติมให้ถูกต้องสมบูรณ์ยิ่งขึ้น
โปรดแจ้งให้ผู้จัดทำหรือหัวหน้าแพทย์ประจำบ้านทราบเพื่อปรับปรุงในปีต่อไปจะเป็นพระคุณยิ่ง
บรรณาธิการพิมพ์ครั้งที่
1
อ.นพ.ณัฐพล
วงษ์คำช้าง
ตอนที่ 1
ข้อมูลทั่วไปและแนวทางกิจกรรมแพทย์ประจำบ้านปีที่ 1
ภาควิชาจักษุวิทยา คณะแพทยศาสตร์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
หมายเลขโทรศัพท์โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติที่ควรทราบ
โทรศัพท์กลาง
02-926-9999
โทรตรงเบอร์ภายใน
02-926-xxxx
ธุรการจักษุวิทยา
(คุณจุ๋ม)
9957
OPD ตา
99369938(ไร้สาย
9937)
ศึกษาศาสตร์
(คุณกาญจนา)
9679
ธุรการคณะแพทยศาสตร์
(คุณแมว)
9793-5
ห้องทำงานอาจารย์
9947
Ward จักษุสามัญ
9545-6
Ward ธท.2
9822-3
Ward จักษุหญิงพิเศษ
9602-3
Ward จักษุชายพิเศษ
9600-1
Ward NICU
9199, 9200
OR รวม
9218
OR 16 ห้องตา
9251
ER
9042-5
เวชภัณฑ์
9569
บริหารทรัพยากรมนุษย์
9368-9
ห้องสมุดกลุ่มแพทยศาสตร์
7502
ต่อโทรศัพท์กลาง
09
ห้องรองผอ.ฝ่ายบริการสุขภาพ
9329
เลขาฯอ.ศักดิ์ชัย
(คุณน้ำฝน)
9358
สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี
02-354-8333-8 OPD 2302
ศูนย์การแพทย์คูคต
02-5323726
ราชวิทยาลัยจักษุแพทย์ฯ
02-7180715
PB ขายหนังสือ
02-9779600-4
วิชัยยุทธ Xerox
02-2162585, 02-6116652
ธเนศ Xerox
02-8808564
Dominos
pizza
02-3081000
KFC,
Pizza Hut
1150
McDonald
(>300 บ)
02-2376968-9
Pizzeria
02-2674999
S&P
02-2346546
Swensens
02-7127878
MK
02-2485555
Pizza
Company, Chicken Treat 1112
Website
ภาควิชาจักษุวิทยา
ธรรมศาสตร์
www.tec.in.th
คณะแพทยศาสตร์
ธรรมศาสตร์
www.med.tu.ac.th
โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ
www.tuhospital.com
ห้องสมุดกลุ่มแพทย์
www.library.tu.ac.th/newlib2/index.asp
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
www.tu.ac.th
ค้น
paper (Pub
Med)
www.ncbi.nlm.nih.gov
ร้านหนังสือ
PB
www.pbforbook.com
ราชวิทยาลัยจักษุแพทย์แห่งประเทศไทย
www.rcopt.org
อาจารย์ประจำภาควิชา
อ.นพ.ศักดิ์ชัย
วงศกิตติรักษ์
หน่วย Pediatric Ophthalmology (01-8332043)
ผศ.นพ.วิชัย
ลีละวงศ์เทวัญ
หน่วยสายตาและเลนส์สัมผัส
(06-7045318)
รศ.นพ.โกศล
คำพิทักษ์
หน่วยกระจกตา
(06-1252779)
อ.พญ.วราภรณ์
บูรณะตรีเวทย์
หน่วยจักษุตกแต่งและเสริมสร้าง
(09-1406782)
อ.นพ.ไพบูลย์
บวรวัฒนะดิลก
หน่วยจอประสาทตา
(01-4246657)
อ.พญ.มัญชิมา
มะกรวัฒนะ
หน่วยต้อหิน
และ ประสาทจักษุวิทยา
(01-3767027)
อ.นพ.ณวพล
กาญจนารัณย์
หน่วยจอประสาทตา
(01-8453676)
อ.พญ.วิมลวรรณ
จูวัฒนสำราญ
หน่วยกระจกตา
(04-1475072)
อ.พญ.ทัศนีย์
ศิริกุล
หน่วยกระจกตา
(06-5653505)
อ.นพ.ณัฐพล
วงษ์คำช้าง
หน่วยสายตาเลือนราง
(09-4773369)
อ.พญ.วรัทพร
จันทร์ลลิต
หน่วยต้อหิน และ
จักษุตกแต่งเสริมสร้าง(09-9443240)
อ.นพ.วรนาถ
ทัตติยกุล
หน่วยกระจกตา
(09-6994478)
อาจารย์พิเศษ
อ.พญ.โสฬส
วุฒิพันธ์
หน่วยกล้ามเนื้อตา
(01-3611344)
อ.นพ.กิตติชัย
อัครพิพัฒน์กุล
หน่วยจอประสาทตา
(01-7828132)
อ.พญ.นิภาภรณ์
มณีรัตน์
หน่วยกระจกตา
(09-1257772)
อ.นพ.กีรติ
พึ่งพาพงษ์
หน่วยจักษุตกแต่งและเสริมสร้าง
(01-8244555)
แพทย์ประจำบ้านต่อยอด
สาขา
Pediatric Ophthalmology and Strabismus
1.นพ.ศุภชัย
กิจศิริไพบูลย์
06-6270096
ตารางหมุนเวียนการปฏิบัติงาน
Resident
|
สาย
A (สีเหลือง
: วันจันทร์) |
สาย
B (สีชมพู
: วันอังคาร) |
สาย
C (สีเขียว
: วันพฤหัสบดี) |
สาย
D (สีส้ม
: วันศุกร์) |
มิย.
|
R
1.3 |
R
1.4 |
R
1.1 |
R
1.2 |
กค. |
R
1.4 |
R
1.1 |
R
1.2 |
R
1.3 |
สค. |
R
1.1 |
R
1.2 |
R
1.3 |
R
1.4 |
กย. |
R
1.2 |
R
1.3 |
R
1.4 |
R
1.1 |
ตค.
พย. |
R
1.3 |
R
1.4 |
R
1.1 |
R
1.2 |
ธค.
มค. |
R
1.4 |
R
1.1 |
R
1.2 |
R
1.3 |
กพ.
มีค. |
R
1.1 |
R
1.2 |
R
1.3 |
R
1.4 |
เมย.
พค. |
R
1.2 |
R
1.3 |
R
1.4 |
R
1.1 |
แพทย์ประจำบ้าน ภาควิชาจักษุวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
แพทย์ประจำบ้านปีที่
1(รุ่น 1)
1. พญ.สุนทรี ธิติวิเชียรเลิศ
09-0872034
รหัส R
1.1
2.นพ.วรวิทย์
อึ้งภูรีเสถียร
01-5995240
รหัส
R 1.2
3.พญ.ปิยะดา
พูลสวัสดิ์ 01-6940237
รหัส
R 1.3
4.พญ.รัชดาภรณ์
ตันติมาลา 01-6137102
รหัส R
1.4
Activity อาจารย์
OR มิถุนายน
2549
เช้า
บ่าย
จันทร์
อ.ณัฐพล วงษ์คำช้าง
อ.วรัทพร,
อ.พญ.วราภรณ์
อังคาร
อ.มัญชิมา
มะกรวัฒนะ
อ.วิมลวรรณ
จูวัฒนสำราญ
พุธ
อ.วิชัย,
อ.ไพบูลย์
อ.ณวพล
กาญจนารัณย์
อ.โสฬส wk3, อ.กีรติ
wk4
พฤหัสบดี
อ.โกศล
คำพิทักษ์
อ.ทัศนีย์
ศิริกุล
ศุกร์
อ.ศักดิ์ชัย
วงศกิตติรักษ์
อ.กิตติชัย
wk 1, 3, 5
OR ตั้งแต่
กรกฎาคม 2549
เช้า
บ่าย
จันทร์
อ.วรนาถ
ทัตติยกุล
อ.วรัทพร, อ.พญ.วราภรณ์
อังคาร
อ.มัญชิมา
มะกรวัฒนะ
อ.วิมลวรรณ
จูวัฒนสำราญ
พุธ
อ.วิชัย
ลีละวงศ์เทวัญ
อ.ไพบูลย์
บวรวัฒนดิลก
อ.โสฬส
wk3,
อ.กีรติ wk4
พฤหัสบดี
อ.โกศล
คำพิทักษ์
อ.ทัศนีย์
ศิริกุล
ศุกร์
อ.ศักดิ์ชัย
วงศกิตติรักษ์
อ.กิตติชัย
wk 1, 3, 5
คลินิกพิเศษ
จันทร์
: เช้า
Þ Retina
clinic อ.ไพบูลย์
บ่าย
Þ Refraction
clinic อ.วิชัย
อังคาร
: บ่าย
Þ DR
clinic อ.ณวพล (หลังกค.49 เป็นอ.ไพบูลย์)
Low vision clinic อ.ณัฐพล (หลังกค.49 เป็นอ.วรนาถ)
พุธ
: เช้า
Þ Neuro-Oph clinic(wk 1,2,4) อ.มัญชิมา
Muscle clinic (wk 3) อ.โสฬส
บ่าย Þ Glaucoma clinic (wk 1,2,4) อ.มัญชิมา,
อ.วรัทพร
OPRC
(wk4) อ.กีรติ
พฤหัส
: เช้า
Þ
Pediatric Oph clinic อ.ศักดิ์ชัย
บ่าย Þ
LASER อ.ไพบูลย์
ศุกร์
: เช้า Þ
Retina clinic (wk 1,3,5)
อ.กิตติชัย
Cornea
clinic อ.โกศล,
อ.วิมลวรรณ, อ.ทัศนีย์,
อ.นิภาภรณ์ (wk 2,4)
คลินิกนอกเวลาราชการ
(16.30 19.30 น.)
สัปดาห์ที่ 1, 3, 5
สัปดาห์ที่
2, 4
จันทร์
อ.ทัศนีย์
ศิริกุล
อ.วรนาถ
ทัตติยกุล
อังคาร
อ.วิมลวรรณ จูวัฒนสำราญ
อ.วรัทพร
จันทร์ลลิต
พุธ
อ.โกศล
คำพิทักษ์
อ.มัญชิมา มะกรวัฒนะ
พฤหัส
อ.ศักดิ์ชัย วงศกิตติรักษ์
อ.ศักดิ์ชัย
วงศกิตติรักษ์
ศุกร์
อ.ไพบูลย์
บวรวัฒนดิลก
อ.ไพบูลย์ บวรวัฒนดิลก
§หน้าที่ Resident 1§
©OPD หลัก
-
Resident ให้ขึ้น OPD ตั้งแต่เวลา
9.00น.(หลัง
morning activities) และรับผิดชอบตรวจคนไข้ที่เหลือในช่วงบ่าย
-
ในเดือนแรกให้นั่งตรวจคู่กับอาจารย์ที่ชื่ออยู่คู่กันในตารางตรวจผู้ป่วยนอก
-
ในเดือนที่ 2
ให้เริ่มตรวจคนไข้ช่วงเช้า 5-10 รายและให้ปรึกษาอาจารย์
ที่นั่งด้วยทุก case
-
หลังจากเดือนที่ 2
ให้ตรวจคนไข้ช่วงเช้า 15-20
ราย กรณี case
มีปัญหาหรือจะนัดเข้า clinic พิเศษให้ปรึกษาอาจารย์ที่นั่งด้วยก่อน
-
การจะadmit
หรือ set ผ่าตัด (นอกจากเจาะตากุ้งยิง
ลอกต้อเนื้อธรรมดา ไม่ทำ graft
หรือวัดแว่น), การส่ง CTVF, ultrasound, CT
ต้องให้อาจารย์ท่านใดท่านหนึ่งเซ็นต์ชื่อในเวชระเบียนด้วย
-
การออกตรวจ clinic พิเศษ
เช้า 9.00น.,บ่าย
13.00น.โดยให้ออกตรวจคู่กับอาจารย์
©OPD วิจัย & Refraction
-
OPD วิจัย
หลังเสร็จ morning activities (ไม่เกิน 9.00 น.)
ให้ออกตรวจกับอาจารย์ที่ออก OPD วิจัย
ประมาณ 10.30 น.ให้ตามอาจารย์ไปวัดแว่น
โดยใน
4 เดือนแรกให้ฝึกดูการวัดแว่นกับอาจารย์ไปก่อน
-
หลัง 4
เดือนวัด
Refraction
และเขียนใบสั่งแว่น,
อธิบายผู้ป่วยเกี่ยวกับการใช้แว่นสายตา, ควรนัดผู้ป่วยหลังได้แว่นภายใน
1 เดือนในกรณีผู้ป่วยใส่แว่นแล้วมีปัญหาให้มาพบแพทย์เพื่อแก้ไข
-
ให้พยายามวัดแว่นให้ผู้ที่มาตรวจ
OPD ในวันนั้นเลย
และแนะนำคนไข้ตัดแว่นที่โครงการแว่นตาศูนย์ตาธรรมศาสตร์
ของภาควิชาฯ (ไม่บังคับ)
เพื่อควบคุมคุณภาพของแว่นตาให้ผู้ป่วย
-
กรณีเด็กอายุน้อยกว่า
12 ขวบควรวัด
Cyclogyl (หรือ
Atropinized)
Refraction ในวันพฤหัสบดี
เพื่อปรึกษาอาจารย์ศักดิ์ชัย
หรือกรณีผู้ใหญ่ที่เป็น case ยากไม่มั่นใจ
ให้ปรึกษาอาจารย์ที่เป็น OPD วิจัย
เพื่อนัดเข้า Refraction clinic วันจันทร์บ่าย
-
ช่วงบ่ายช่วยกับ
OPD หลัก
รับผิดชอบคนไข้ OPD ที่เหลือด้วย
©โรงพยาบาลเด็ก
-
ให้แพทย์ประจำบ้าน
R1C ไปออกตรวจ OPD ตาที่โรงพยาบาลเด็ก
เริ่ม 9.00 น.โดยคนที่ไปก่อนในเดือนก่อน
ให้ส่งงาน
แนะนำการปฏิบัติงานให้คนที่จะเริ่มไปด้วย ช่วงบ่ายจะตามดู ROP
ผู้ป่วยใน
และเข้า case OR
©Treatment
-
ให้รับผิดชอบดูแลรับผิดชอบหัตถการทุกชนิดที่ห้อง
treatment, ห้องวัด IOL
และ
special investigation ในแผนกทุกชนิด (กรณีมีเจ้าหน้าที่ทำ
ต้องไปร่วมดู
และฝึกทำให้เป็น
รวมทั้งอ่านความรู้ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องให้เข้าใจ)
ในวันที่ไม่มีแพทย์ประจำบ้าน
OPD วิจัย
ให้รับผิดชอบเรื่องวัดแว่นด้วย
-
ช่วงบ่ายช่วยกับ
OPD หลัก
รับผิดชอบคนไข้ OPD ที่เหลือด้วย
©Ward
-
ให้แพทย์ประจำบ้านที่ออก
OPD เขียน order
เบื้องต้นในการ
admit ตรวจสอบโรคประจำตัวและ
Lab (ถ้ามี)
สั่ง admit หรือส่ง consult
กรณีมีปัญหา
(โดยให้แจ้งอาจารย์เจ้าของไข้ด้วย)
ช่วงบ่ายหรือเย็นให้แพทย์ประจำบ้านที่จะเข้า
OR วันถัดไป
รับผู้ป่วยและลงข้อมูลใน
chart ให้
complete ในส่วนก่อนผ่าตัด
(และไป complete ส่วนหลังผ่าตัดต่อ)
, รับผิดชอบใบ set OR ร่วมกับคุณจุ๋ม
และแจกคนไข้ให้นศพ.ปี
5 รับช่วงบ่าย
-
การนัด
Follow Up ผู้ป่วย
discharge
: ปกติจะนัดประมาณ
1 สัปดาห์(หรือแล้วแต่
Order) ให้นัดพบแพทย์ที่ผ่าตัดในวันที่ออก
OPD ใกล้
1 สัปดาห์ที่สุด
(ทั้งอาจารย์และ
Resident)
-
การสั่งยาผู้ป่วยกลับบ้าน
: ให้สั่งตาม
Order ทั้งชนิด,
วิธีใช้ และจำนวน(โดยประมาณ)
-
การเขียนใบ
Consult ข้ามภาควิชา
ให้เขียนประวัติเรื่องที่จะปรึกษาพอสังเขป
และประวัติทางตาคร่าวๆ (เช่น
diagnosis,
plan surgery อะไร, LA
or GA เมื่อไหร่),
อย่าใช้คำย่อ
,
เขียนปัญหาของผู้ป่วยเรียงเป็น
1,2,3,
และเขียนสาเหตุที่ปรึกษา
เพื่อ proper management เกี่ยวกับปัญหาข้อใดบ้าง
©การ
Round ward
-
Round
รวม
7.30 -
8.15 น.จะ
Round รวม
R1 โดยจะมีการ
discuss สั้นๆเกี่ยวกับผู้ป่วย,
Resident 1 ทุกคนต้องร่วม
Round ward
ทุกเช้า
-
Round
ตามอาจารย์ประจำสาย (ถ้ามี)
หรือแพทย์ประจำบ้านที่อยู่ OPD ดู
post op กับอาจารย์ที่
OPD
©OR
-
ให้เข้า
OR หลังเสร็จ
morning activities (ไม่เกิน 9.00 น.) มีหน้าที่ประสานกับพยาบาลห้องผ่าตัดและ
จัดลำดับคิวผ่าตัด (จัดคิวตามใบ set)
-
ดูแลการหยอดยา
Dilate
pupil (ยกเว้นทำ
Trabeculectomy,
PK, Lid or Muscle surgery ไม่ต้อง dilate pupil)
-
Re-check
ชนิดและ power ของ IOL
-
สรุปข้อมูลผู้ป่วยผ่าตัด,
ตรวจสอบความเรียบร้อยของ
post-op
order
-
เข้าช่วย
Case (เมื่อว่างงานอื่น)
-
ฉีด
Retrobulbar
& Facial block (ยกเว้นผ่าตัด
under GA.,
Lid surgery, Muscle surgery, DCR.) กรณีทำ
phaco
แล้วแต่อาจารย์บางท่านให้ถามอาจารย์ก่อน
©OR Minor
-
Case Pterygium excision ถ้าวาง Beta
radiation ธรรมดา
ให้ set ทำที่ห้อง treatment ช่วงบ่ายวันที่ไม่มี
Specialty clinic) ถ้าจะทำ
Pterygium with graft หรือ AMT ให้นัดวันที่เข้า
OR อยู่แล้วในช่วงวันที่มีอาจารย์หน่วยกระจกตาเข้าด้วย และแจ้งอาจารย์หน่วยกระจกตาท่านนั้นทราบด้วย
©การอยู่เวร
-
เวลาเวรรับผิดชอบ
วันหยุด 8.00น.ถึง
8.00น.วันรุ่งขึ้น,วันธรรมดา
8.00 น.ถึง8.00
น.วันรุ่งขึ้น,
การอยู่เวร ทุก case
ที่ได้รับ
Notify ต้องไปตรวจและ
Take note ใน
OPD.card ทุกรายที่
ER,
ระยะ 2
เดือนแรกให้รายงานอาจารย์เจ้าของเวรด้วยทุกราย
-
เวรวันหยุดให้ round
คนไข้ทั้งหมด
(ทั้งที่ใช่และไม่ใช่คนไข้ในสาย)ตอนเช้า
-
การ
Admit case
ช่วงเวลาเวร
ต้อง check
เตียงว่างกับ
ward
เมื่อจะ Admit หากจำเป็นต้องส่ง
lab
หรือฉีด
TT, TAT
ให้ทำมาจาก
ER เลย,
ห้ามสั่ง Order
ที่สำคัญทางโทรศัพท์
-
วันที่อยู่เวรมี
Case Admit
ทุกราย (หรือไม่
admit แต่น่าสนใจ)ให้
R1 เตรียมประวัติ
& หน้าป้ายมาทำ
Case
report ในช่วงเช้าตามที่กำหนดไว้(วันอังคาร)
-
การอยู่เวรในแผนก
ห้ามอยู่เวรซ้อนกับเวรนอกโรงพยาบาล,เวร ER และช่วงเวลาที่อยู่เวรไม่ให้ออกนอกบริเวณโรงพยาบาลหรือหอพัก
ต้อง Stand
by อยู่ตลอดเวลาเวร
(ยกเว้นมีเหตุจำเป็นให้แจ้งอาจารย์ที่อยู่เวรด้วยทราบก่อน)
ถ้าถูกตามต้องไปดู case
เสมอ
-
เวรอื่นๆ
คือ เวร ER
อยู่ตามตาราง
ER pool
ร่วมกับแพทย์ประจำบ้านปี1
แผนกอื่นๆ
ประมาณเดือนละ
2 เวร
-
ให้หัวหน้าแพทย์ประจำบ้านจัดตารางเวรให้หัวหน้าภาคฯเซ็นก่อนวันต้นเดือนอย่างน้อย
2 สัปดาห์
©การรับคนไข้
-
ต้องรับคนไข้ที่มา
admit ใหม่ทุกราย,ให้ซักประวัติ
& ตรวจตา
& วัด
IOP & ดู
Fundus (case
retina, cataract
ที่มี DM
or HT, cataract ที่ไม่ได้ตรวจ
fundus เกิน
1 เดือน)
& ตรวจผล
Lab & ดู
order ใน
OPD.card
& เขียน
Preop.
order ทุกราย
กรณีมีปัญหาให้แจ้งอาจารย์เจ้าของ
case ทราบเย็นนั้นหรือเร็วที่สุด
และเขียนลงใน order
ด้วย
-
กรณีเตรียมผ่า
GA ถ้าเป็น
DM หรือ
Uncontrolled
HT หรือโรคประจำตัวอื่นที่อาจเป็นปัญหาในการผ่าตัด,
หรือผ่า
LA เป็น
Uncontrolled
DM (last FBS>200 mg/dl) ให้ consult med.ด้วย
-
การตรวจ
Lab ในราย
GA.
n
อายุ < 40 ปี
ตรวจ CBC,
FBS, UA, CXR, HIV(เฉพาะกรณีผู้ป่วยยินยอม)
n
อายุ > 40 ปี เพิ่ม EKG, BUN, Cr, FBS,Elyte ด้วย
n
ถ้ามีผล Labปกติไม่เกิน
1 เดือนไม่ต้องทำใหม่,
ผล Lab
จากรพ.อื่นที่ชัดเจนไม่ต้องทำใหม่,ผลเดิมเกิน
1 เดือนหรือผลผิดปกติหรืออาการทางคลินิกผิดปกติให้สั่งตรวจใหม่
-
การตรวจ Lab ในราย LA.(Cataract)
n
ตรวจเฉพาะตาม Underlying
Dz
n
ถ้าเป็น Poor control DM ให้พิจารณาส่ง
FBS.ด้วย
-
กรณี
DM มี
Last FBS นานกว่า
1 เดือนหรือ
> 200
mg/dl ให้สั่งเจาะ
FBS.เช้าวันรุ่งขึ้นด้วย
, Lab อื่นๆเกิน
6 เดือนให้ทำใหม่
: Preop & Postop order
ต่างๆมีดังนี้คือ
Pre-op order
for Cataract surgery
continuous
: Regular diet (คนไข้เป็น
DM สั่งเป็น
Diabetic
diet คำนวน
calories
30 Cal/Kg/Day ,ถ้าคนไข้เป็น
HT สั่งเป็น
Low salt
diet)
: Record vital signs as usual
: Medication
n
ยาประจำตัวของผู้ป่วยที่ใช้อยู่ทุกตัว
ระบุชื่อยาและ dose ด้วย
กรณียาเบาหวานถ้าเป็นยากินให้งด
dose เช้าวันผ่าตัด
, กรณีเป็นยาฉีดให้ลด
dose เหลือ
1/2
ของ dose ปกติใน dose เช้าวันผ่าตัด
n
กรณีผู้ป่วยกิน
ASA (หรือ
Ticlid, Persantin)
ควรหยุดยาก่อนอย่างน้อย
14 วัน,
กรณี on
Coumadin ควรหยุดยาก่อนอย่างน้อย
5 วัน
(ถ้าหยุดยามาไม่ครบ
ให้ notify
อาจารย์เจ้าของไข้
และเขียนไว้ในใบ
order ด้วย)
n
กรณีได้ยา Pilocarpine ed อยู่ต้องหยุดยาก่อน
2 wks.หรืออย่างน้อยสั่งหยุดยาใน
order และเขียนไว้ในใน
order ด้วย
One
Day : ตัดขนตา
RE or LE (อ.ศักดิ์ชัย,
อ.มัญชิมา ไม่ต้องตัดขนตา)
: สระผมให้สะอาดคืนก่อนผ่าตัด
: หยอดยา
เริ่มเวลา (ก่อน or ประมาณ
2 ชั่วโมง)
ด้วย
1% Mydriacyl & 10 % Phenylephrine ed & Poly oph
& Voltaren ed to RE or LE สลับกันทุก 5 นาที อย่างละ 4 ครั้ง
: D2 1 tab. + Paracet (500) 2 tab. ก่อนไป
OR
: เตรียม
IOL (กำหนดรุ่นและ
power)
อ.วิชัย เปลี่ยนยาหยอดเป็น
Continue : Poly
- oph qid ตั้งแต่วัน
admit
one
day
- 1% Mydriacyl & 10% Phenylephrine &
Voltaren ED q 15 min x 6 ครั้ง
หยอดแต่ละครั้งห่างกัน
5
นาที
อ.โกศล เปลี่ยนยาหยอดเป็น
Continue : Tobrex
qid ตั้งแต่วัน
admit
one
day
- 1% Mydriacyl & 10% Phenylephrine &
Voltaren ED q 10 min x 6 ครั้ง
หยอดแต่ละครั้งห่างกัน
2 นาที
อ.ไพบูลย์ เปลี่ยนยาหยอดเป็น
- Poly - oph q 5 min 6 ครั้ง ก่อนนอน
และเช้าวันผ่าตัด
- 1% Mydriacyl สลับกับ
10% Phenylephrine & Voltaren ED q 5 min x 6
ครั้ง
อ.วิมลวรรณ
เปลี่ยนยาหยอดเป็น เริ่มหยอดยาตาก่อนเวลาผ่าตัดราว
2 ชม.
-
1% Mydriacyl q 10 min x 8 ครั้ง
-
Phenylephrine
q 10 min x 8 ครั้ง
(กรณีที่ไม่มี HT ,Heart Dz ที่ uncontrolled)
-
Okacin /Ciloxan
qid
ก่อนผ่าตัด
1 วัน
-
Diamox (250) 1 tab ก่อนไป
OR (เฉพาะ case ECCE)
ซักประวัติแพ้ยา sulpha ก่อนให้ทุกครั้ง***
-
ก่อนเข้าห้องผ่าตัด...เติมยา dilate
ให้ออก ณ ที่ OR
อ.ทัศนีย์
เปลี่ยนยาหยอดเป็น
-
Poly-oph
q 5 min x 4 ครั้ง
เริ่มก่อนผ่าตัด
3 hour
-
Mydriacyl
q 5 min x 6 ครั้ง
เริ่มก่อนผ่าตัด
1½ hour
-
Phenylephrine
q 5 min x 2 ครั้ง
อ.วรัทพร
เปลี่ยนยาหยอดเป็น
-
poly-oph q 5 min x 4 ครั้ง
-
mydriacil q 5 min x 6
ครั้ง
-
Diamox (250) 2 tab ก่อนไป
OR (เฉพาะ
case
ECCE)
Pre-op order
for Trabeculectomy
Continuous
: เหมือน
Cataract
surgery แต่ไม่ต้องสั่ง
dilate ตา
ยกเว้นถ้าเป็น Combined
Trabeculectomy + Cataract surgery ให้สั่ง dilate ตาและให้สั่งหยุดยา
Pilocarpine
ed ตาข้างนั้นก่อน
2 wks.หรืออย่างน้อยสั่งหยุดยาใน
order
: อ.มัญชิมาให้สั่ง
50% Glycerine
1 cc/kg.+ น้ำมะนาว
ไป OR ด้วย
: ยา
Antiglaucoma
ให้สั่งเหมือนปกติไปก่อน
หลังผ่าตัดจึงพิจารณา off ยาหรือไม่อีกที
One
Day : เหมือน
cataract
surgery แต่ไม่ต้องสั่ง
dilate
pupil ยาหยอดเปลี่ยนเป็น
Poly
oph & 2% Pilocarpine to RE or LE
สลับกันทุก
5 นาที
อย่างละ 4
ครั้ง
(อ.มัญชิมาเพิ่ม Voltaren
ed ด้วย)
ยกเว้นทำ
Combined
Trabeculectomy + Cataract surgery ให้สั่ง dilate เหมือน cataract surgery
Pre-op order
for DCR. หรือการผ่าตัดทางจักษุตกแต่งและเสริมสร้าง
Continuous
:
เหมือน
Cataract
surgery
One
Day
: เหมือน
cataract
surgery แต่ไม่ต้อง
dilate
pupil
Pre-op order
for Pterygium excision c graft
Continuous
: เหมือน
Cataract
surgery แต่ไม่ต้องสั่ง
dilate ตา
Pre-op order
for Retinal surgery
Continuous
: เหมือน
Cataract
surgery
One
Day
: อ.ไพบูลย์
Dilate ตา
เหมือน cataract
surgery
: อ.กิตติชัย
Dilate ตา
เหมือน cataract
surgery แต่ไม่ตัดขนตา
Pre-op order
for Muscle surgery หรือ Lids surgery
Continuous
: เหมือน
Cataract
surgery กรณีผู้ป่วยกิน
ASA (หรือ
Ticlid, Persantin)
หยุดยาก่อนอย่างน้อย
14 วัน
One
Day
: LA ให้
Paracet
(500) 2 tab ก่อนไป
OR
GA
Muscle ให้
NPO 6.00 น.
Post-op order
for Cataract surgery or Trabeculectomy or Combined trabeculectomy
Continuous
: Regular diet (หรืออาหารเหมือน
pre-op)
: Record vital signs as usual (หรือเหมือน
pre-op)
: Medication
n
ยาประจำตัวโรคเดิม
เหมือน pre
op,ยาของอีกตาเหมือน
pre op
n
กรณี Trabeculectomy or Combined ยังไม่ต้องสั่งหยอด
Timolol or
Pilocarpine ตาข้างผ่า
(รอ evaluate
วันรุ่งขึ้น)
n
Paracet
(500) 2 tab prn / 10 tab, D(2) 1 tab hs / 5 tab
อ.ศักดิ์ชัย
n
Spersadexoline ed to OD or OS q
4 hr / 1 ขวด
n
Amoxycillin (500)
1x4 po ac.& hs /16 cap
อ.วิชัย
n
1% Pred forte qid
n
Poly-oph qid
n
Solcoseryl eye gel hs
n
Amoxycillin (500)
1x3 pc
อ.โกศล
n
1% Pred forte qid
n
Ciloxan qid
อ.ไพบูลย์,
อ.ณวพล, อ.ณัฐพล
n
Spersadexoline ed to OD or OS q
2 hr / 1 ขวด (อ.ณัฐพล
เป็น qid
และเพิ่ม
Maxitrol
eo hs)
อ.มัญชิมา
n
1% Pred forte q
2 hr
n
Tobrex qid
อ.วิมลวรรณ,
อ.ทัศนีย์, อ.วรัทพร
n
1% Pred forte q
2 hr until hs
n
Poly-oph qid
(อ.วิมลวรรณ Okacin / Ciloxan ยาเดิม ที่ pre
op)
n
อ.ทัศนีย์
เพิ่ม Cephalexin
(500) 1x4 ac & hs, อ.วรัทพร
เพิ่ม Omnicef
1x3 pc
One
Day : ไม่ต้องสั่ง,
ตรวจพร้อมอาจารย์และ discharge วันรุ่งขึ้น, นัด follow up วัน OPD
อาจารย์ครั้งถัดไป
กรณี
Cataract
surgery เป็นผู้ป่วย
Day
surgery
ให้สรุปข้อมูลลงในแบบ Form,ยาที่ให้ให้เขียนใบสั่งยา
และเขียนสรุปลงใน OPD card รวมทั้งวันนัด follow up ด้วย
การนัด
Follow up ผู้ป่วย
Day
surgery
Resident
: นัด
OPD วันถัดไปที่ผู้ผ่าตัดออกตรวจ
อาจารย์
: ให้ถามอาจารย์ที่ทำผ่าตัดว่าจะนัดวันไหน
วันศุกร์
: อ.ศักดิ์ชัย
นัดพฤหัสเช้า
Post-op order
for Muscle surgery
n
Dex-oph qid, Paracet, ปิดตาอย่างน้อย
2 ชั่วโมง
n
ตรวจและ discharge วันรุ่งขึ้น
แล้วนัด Follow
up Muscle clinic ครั้งถัดไป
Post-op order
for Retinal surgery
Continuous
:
Spersadexoline ed to OD or OS q
2 hr / 1 ขวด
: Medication เพิ่ม
1%Atropine
ed to OD or OS bid
: อ.กิตติชัย
ให้ตรวจและ discharge วันรุ่งขึ้นแล้วนัด
Follow up Retina clinic วันศุกร์ อ.กิตติชัยครั้งต่อไป
Post-op order
for Enucleation or Evisceration
Continuous
: เหมือน
Cataract
surgery
One
Day
: ปิดตาแน่น
3 วัน
เปิดวันที่
.
Post-op order
for Pterygium excision c graft
อ.โกศล
n
1% Pred forte q 2 hr until hs
n
Maxitrol eo hs
อ.วิมลวรรณ
n
1% Pred forte q
2 hr until hs
n
Poly-oph qid
อ.ทัศนีย์
n
Spersadexoline ed q
2 hr until
hs 3 วัน
then qid
n
Maxitrol eo hs
Pre-op order
for Lids surgery
อ.วราภรณ์
n
Dex-oph qid
n
Paracet, Brufen 1x3
n
Terramycin eo ป้ายแผลเปลือกตา
bid
อ.กีรติ
n
Paracet, Dicloxa (250 หรือ
500) 1x4
ac & hs / 20
n
Terramycin eo ป้ายแผลเปลือกตา
bid
n
ตรวจและ discharge วันรุ่งขึ้น
ให้เปิดตา 1
ข้าง,
cold
compress บ่อยๆ
& นอนศีรษะสูง
3 วัน,
นัดตัดไหม resident
1 สัปดาห์
แล้วนัด OPRC
clinic เดือนถัดไป
Pre-op order
for DCR
อ.วราภรณ์
n
Dex-oph qid
n
Maxitrol eo hs
©Activity
การเรียน
-
เช้า
Morning
activities
8.30 10.00 น.(โดยอาจารย์
OPD หลักควบคุม)
ประกอบด้วย
o
จันทร์ Grand
Round
ให้นำเสนอ case admit ที่ไม่ใช่
cataract ธรรมดาในสัปดาห์ที่ผ่านมา
(เน้นนอกเวลา > ในเวลา)
o
อังคาร
Interesting
Topic
ให้นำเสนอ case ที่น่าสนใจเป็น slide ถ้าไม่มีให้เอา
case จาก
internet และแจ้ง
case ให้อ.ทัศนีย์ภายในเช้าวันจันทร์
o
พุธ
Morning
Topic
ให้ resident ทำตารางเรื่องที่น่าสนใจสั้นๆ
ผลัดกันอ่านมานำเสนอให้เพื่อนฟัง
o
พฤหัสบดี
Photo club
ให้นำรูปโรคที่น่าสนใจมานำเสนอ
o
ศุกร์
Morning
Topic
ให้ resident ทำตารางเรื่องที่น่าสนใจสั้นๆ
ผลัดกันอ่านมานำเสนอให้เพื่อนฟัง
o
ให้หัวหน้าแพทย์ประจำบ้าน
จัดตารางกิจกรรมวิชาการเช้าร่วมกับเพื่อนๆ
ล่วงหน้าอย่างน้อย 3
เดือน
-
Lecture
ตามตารางสอน
ให้หัวหน้าแพทย์ประจำบ้านเตรียมห้องเรียนและอุปกรณ์ให้พร้อม
พยายามเข้าเรียนให้ตรงเวลา
-
บ่ายวันศุกร์มี
วิชาการภาควิชา
13.00
15.00 น.ประกอบด้วย
o
ศุกร์แรกของเดือน
ประชุมภาควิชา
staff
o
ศุกร์ที่ 3 และ
5
Major review
ให้ resident
หมุนกันทำเรื่องที่น่าสนใจ
โดยมีอาจารย์หน่วยนั้นเป็นทีปรึกษา
และทำเอกสารแจกด้วย
สลับกับ
Journal
club ครั้งละ
1 เรื่อง
/ คน
ทุกคน โดยให้ notified
และ
Xerox
paper ให้อาจารย์ในหน่วยที่เกี่ยวข้องด้วย
o
ศุกร์ที่
2 และ
4
Interesting topic
ให้อ.มัญชิมาจัดเรื่องที่น่าสนใจโดย
staff นำเสนอ
o
ให้หัวหน้าแพทย์ประจำบ้านจัดตารางผู้รับผิดชอบกิจกรรม
Major
review แจ้งอ.มัญชิมาล่วงหน้าทั้งปีการศึกษา
©การยืมหนังสือห้องสมุดภาควิชาจักษุวิทยา
หรืออุปกรณ์ที่ใช้ในการเรียนการสอน
(เช่น Notebook
และ
LCD)
-
ให้ติดต่อขอยืมกับธุรการ
(คุณจุ๋ม)
และรับผิดชอบมาคืนด้วย
©การสอนนักศึกษาแพทย์
-
ให้
Restident
1 นัดสอนน้องตามที่เห็นสมควร
© การลา
-
มีสิทธิ์ลาพักร้อนปีละ
10 วันโดยห้ามลาในช่วงเดือน
มิย.-กค.และเมย.-พค.
ให้แบ่งลาในช่วง
สค.-พย.
5 วันและ
ธค.-มีค.อีก
5 วัน,
ลาป่วยและลากิจรวมกันไม่เกินปีละ
5 วัน
การลาต้องส่งใบลาและแจ้งพยาบาล
OPD ล่วงหน้าอย่างน้อย
1 สัปดาห์และเขียนใบติดต่อคนทำงานแทนหนีบกับ
Xerox ใบลาติดไว้ที่ board แพทย์ด้วย
©การประเมินผล
-
สอบ formative evaluation ประมาณต้นเดือนกันยายน
-
สอบ
Basic Science Course ของราชวิทยาลัยจักษุแพทย์แห่งประเทศไทย
ประมาณปลายเดือนมกราคม
-
สอบปลายปีประมาณปลายเดือนเมษายน
(MCQ, slide)
©การปฐมนิเทศ
-
ให้มาปฐมนิเทศการปฏิบัติงานในวันพุธที่
31 พฤษภาคม 2549 เวลา 13.30
น.ที่ห้องประชุมหน่วยตรวจตา
มีปัญหาใดๆ ปรึกษาอาจารย์ทุกท่านได้เสมอ
ตารางสอนแพทย์ประจำบ้านปีที่
1
ประเภทของหัวข้อการบรรยาย
A
: Basic science :
เพื่อเป็นพื้นฐานความรู้ในการรับความรู้ทางคลินิกของจักษุวิทยาต่อไป
B
: Clinical science
: เพื่อใช้เป็นความรู้ทางคลินิก
ในการดูแลรักษาผู้ป่วยได้อย่างถูกต้อง
และมีประสิทธิภาพ
C
: Competency
: เพื่อเพิ่มศักยภาพในการเป็นจักษุแพทย์ที่ประสบความสำเร็จในอนาคต
นอกจากความรู้ในตำรา
หมายเหตุ :
หัวข้อการบรรยายของแพทย์ประจำบ้านทั้ง
3 ชั้นปี
จะประกอบด้วยหัวข้อทั้ง 3 ประเภท โดยชั้นปีที่
1 เน้นประเภท
Basic
science ,ชั้นปีที่
2 เน้นประเภท
Clinical science และชั้นปีที่ 3 เน้นการพัฒนา
Competency
และเตรียมการสอบวุฒิบัตร
เวลาบรรยาย :
13.30 15.30 น.
หัวข้อการบรรยาย (ดูรายละเอียดชั่วโมงการสอนในคู่มือการบรรยายวิชาการ)
หมายเหตุ
:
กรณีวันบรรยายตรงวันหยุด
หรือมีเหตุให้ไม่มีการบรรยาย
ให้แพทย์ประจำบ้านติดต่ออาจารย์ผู้สอนเพื่อนัดวันสอนให้ครบ
History
taking and eye examination |
พฤหัสบดี 1
มิถุนายน
2549
|
อ.พญ.วิมลวรรณ
จูวัฒนสำราญ |
Ophthalmic
instruments |
ศุกร์ 2
มิถุนายน
2549 ( 9.00 12.00
น.)
|
อ.พญ.ทัศนีย์
ศิริกุล |
Orientation
to ophthalmic procedures |
ศุกร์ 2
มิถุนายน 2549
|
ผศ.นพ.วิชัย
ลีละวงศ์เทวัญ |
Cornea
& External disease : anatomy, testing, common external disease
|
จันทร์ 5
มิถุนายน 2549
|
รศ.นพ.โกศล
คำพิทักษ์ |
Cornea
& External disease : common disease |
อังคาร 6
มิถุนายน 2549
|
รศ.นพ.โกศล
คำพิทักษ์ |
Diseases
of lenses : anatomy, cataract, lens dislocate
|
พฤหัสบดี 8
มิถุนายน 2549
|
อ.นพ.ณวพล
กาญจนารัณย์ |
Retina:
anatomy, blood ocular barrier
|
จันทร์ 12
มิถุนายน 2549
|
อ.นพ.ณวพล
กาญจนารัณย์ |
Retina
: Diabetic retinopathy, Hypertensive retinopathy
|
อังคาร 13
มิถุนายน
2549
|
อ.นพ.ไพบูลย์
บวรวัฒนดิลก |
Common
eyelid tumor
|
พฤหัสบดี 15
มิถุนายน 2549
|
อ.พญ.วราภรณ์
บูรณตรีเวทย์ |
Uveitis
: intermediate uveitis, posterior uveitis
|
จันทร์ 19
มิถุนายน 2549
|
อ.นพ.ณัฐพล
วงษ์คำช้าง |
Low
vision : terminology, instrument, concept of treatment
|
อังคาร 20
มิถุนายน 2549
|
อ.นพ.ณัฐพล
วงษ์คำช้าง |
Ocular
trauma : anterior segment trauma
|
พฤหัสบดี 22
มิถุนายน 254929
มิถุนายน 2549
|
อ.พญ.วิมลวรรณ
จูวัฒนสำราญ |
Ocular
trauma : posterior segment trauma |
จันทร์ 26
มิถุนายน 2549
|
อ.นพ.ณัฐพล
วงษ์คำช้าง |
Glaucoma
: terminology, anatomy, aqueous humor dynamic, testing
|
อังคาร 27 มิถุนายน
2549 |
อ.พญ.มัญชิมา
มะกรวัฒนะ |
Glaucoma
: POAG, CACG, NTG, OHT Burnt
out glaucoma |
พฤหัสบดี 29
มิถุนายน 2549 |
อ.พญ.มัญชิมา
มะกรวัฒนะ |
Common
drugs use in Ophthalmology |
จันทร์ 3
กรกฎาคม
2549
|
อ.พญ.วราภรณ์
บูรณะตรีเวทย์ |
Optic
& Refraction : basic principle of optic & refraction
|
อังคาร 4
กรกฎาคม 2549
|
ผศ.นพ.วิชัย
ลีละวงษ์เทวัญ |
Glaucoma
: antiglaucoma drugs
|
พฤหัสบดี 6
กรกฎาคม 2549
|
อ.พญ.มัญชิมา
มะกรวัฒนะ |
Ethics
& Laws in Ophthalmology
|
พฤหัสบดี 13
กรกฎาคม 2549
|
อ.นพ.ศักดิ์ชัย
วงศกิตติรักษ์ |
Pediatric
: normal eye development
|
จันทร์ 17
กรกฎาคม 2549
|
อ.นพ.ศักดิ์ชัย
วงศกิตติรักษ์ |
Pediatric
: visual acuity (VA) testing in children |
อังคาร 18
กรกฎาคม 2549
|
อ.พญ.ไอรีน
ศุภางคเสน |
Neuro-oph
: visual pathway & Visual field defect
|
จันทร์ 24
กรกฎาคม 2549
|
อ.นพ.วรนาถ
ทัตติยะกุล |
Uveitis
: basic immunology, anterior uveitis
|
จันทร์ 31
กรกฎาคม 2549
|
อ.นพ.วรนาถ
ทัตติยะกุล |
Retina
: Retinal detachment
|
จันทร์ 7
สิงหาคม 2549
|
อ.นพ.ไพบูลย์
บวรวัฒนดิลก |
Strabismus
: assessment of eye movement, testing
|
พุธ 16
สิงหาคม 2549
|
อ.พญ.โสฬส
วุฒิพันธุ์ |
Cornea
: allergic conjunctivitis
|
จันทร์ 21
สิงหาคม 2549
|
อ.พญ.วิมลวรรณ
จูวัฒนสำราญ |
Coding
in ophthalmology (DRG & ICD 10) |
จันทร์ 28
สิงหาคม 2549
|
อ.พญ.ขวัญใจ
วงศกิตติรักษ์ |
Basic
Ophthalmic Laser and Ultrasound (A scan, B scan)
|
จันทร์ 4
กันยายน 2549
|
อ.นพ.กิตติชัย
อัครพิพัฒน์กุล |
Neuro-oph
: Anterior Ischemic Optic Neuropathy (AION)
|
จันทร์ 11
กันยายน 2549
|
รศ.นพ.โกศล
คำพิทักษ์ |
Power
point Presentation Skill
|
จันทร์ 18
กันยายน 2549
|
อ.พญ.วรัทพร
จันทร์ลลิต |
Pediatric
& Strabismus : Esotropia, Exotropia
|
พุธ 20
กันยายน 2549
|
อ.พญ.โสฬส
วุฒิพันธุ์ |
Research
methodology part I
|
ศุกร์
6 ตุลาคม
2549
|
อ.พญ.รุ่งทิพย์
สุขวรรณ |
Research
methodology part II
|
ศุกร์
13 ตุลาคม
2549
|
อ.พญ.รุ่งทิพย์
สุขวรรณ |
Retina
: retinal vascular disease |
จันทร์ 16 ตุลาคม
2549
|
อ.นพ.ไพบูลย์
บวรวัฒนดิลก |
Glaucoma
: Visual field interpretation
|
จันทร์ 30
ตุลาคม 2549
|
อ.พญ.มัญชิมา
มะกรวัฒนะ |
Glass
& Frame |
จันทร์ 6
พฤศจิกายน 2549
|
อ.พญ.ขวัญใจ
วงศกิตติรักษ์ |
Cornea
: corneal ulcer, technique in corneal scraping
|
จันทร์ 13
พฤศจิกายน 2549
|
อ.พญ.นิภาภรณ์
มณีรัตน์ |
Orbit
: orbital fracture
|
จันทร์ 20
พฤศจิกายน 2549
|
อ.นพ.กีรติ
พึ่งพาพงษ์ |
Glass
manufacturing
|
จันทร์ 27
พฤศจิกายน 2549
|
Staff ทุกท่าน |
Neuro-oph
: optic neuritis
|
จันทร์ 4
ธันวาคม 2549
|
อ.พญ.วรัทพร
จันทร์ลลิต |
Pediatric
& Strabismus : Retinopathy of Prematurity (ROP)
|
จันทร์ 11 ธันวาคม
2549 |
อ.นพ.ศักดิ์ชัย
วงศกิตติรักษ์ |
Public
Eye Health
|
จันทร์ 18 ธันวาคม
2549
|
อ.พญ.ขวัญใจ
วงศกิตติรักษ์ |
Ocular
Pathology
|
จันทร์ 25 ธันวาคม
2549
|
อ.นพ.ศักดิ์ชัย
วงศกิตติรักษ์ |
Retina
: retinoblastoma
|
จันทร์ 8 มกราคม
2550
|
อ.พญ.วิมลวรรณ
จูวัฒนสำราญ |
Ophthalmic
Drugs and Instrument Supplier
|
จันทร์ 15 มกราคม
2550
|
อ.นพ.ศักดิ์ชัย
วงศกิตติรักษ์ |
Glaucoma
: Neovascular Glaucoma
|
จันทร์ 22 มกราคม
2550
|
อ.พญ.มัญชิมา
มะกรวัฒนะ |
Cornea
: specular microscope
|
จันทร์ 29 มกราคม
2550
|
อ.พญ.ทัศนีย์
ศิริกุล |
Pearl
& Pitfall in ECCE
|
จันทร์ 5 กุมภาพันธ์
2550
|
อ.พญ.วรัทพร
จันทร์ลลิต |
Orbit
: orbital tumor
|
จันทร์ 12 กุมภาพันธ์
2550
|
อ.นพ.กีรติ
พึ่งพาพงษ์ |
Neuro-oph
: traumatic optic neuropathy |
จันทร์ 19 กุมภาพันธ์
2550
|
อ.พญ.วราภรณ์
บูรณตรีเวทย์ |
Wet
lab : Extracapsular Cataract Extraction (ECCE)
|
จันทร์ 26 กุมภาพันธ์
2550
|
ผศ.นพ.วิชัย
ลีละวงศ์เทวัญ |
Intra-ocular
Lens (IOL) : type, power calculation
|
จันทร์ 5 มีนาคม
2550
|
อ.นพ.วรนาถ
ทัตติยะกุล |
Pediatric
& Strabismus : prescribing glasses in children
|
จันทร์ 12 มีนาคม
2550
|
อ.นพ.ศักดิ์ชัย
วงศกิตติรักษ์ |
Retina
: choroidal mass (MM, hemangioma, matastatic tumor)
|
จันทร์ 19 มีนาคม
2550
|
อ.นพ.กิตติชัย
อัครพิพัฒน์กุล |
CPG
guideline
|
จันทร์ 26 มีนาคม
2550
|
รศ.นพ.โกศล
คำพิทักษ์ |
Glaucoma
: congenital glaucoma
|
จันทร์ 2 เมษายน
2550
|
อ.พญ.วรัทพร
จันทร์ลลิต |
Cornea
: eye banking
|
จันทร์ 9 เมษายน
2550
|
อ.พญ.นิภาภรณ์
มณีรัตน์ |
Orbit
& Eyelid : blepharoplasty
|
จันทร์ 23 เมษายน
2550
|
อ.พญ.วราภรณ์
บูรณตรีเวทย์ |
Neuro-oph
: third nerve palsy
|
จันทร์ 30 เมษายน
2550
|
อ.พญ.ทัศนีย์
ศิริกุล |
Pediatric
& Strabismus : fourth nerve palsy
|
พุธ
9 พฤษภาคม
2550
|
อ.พญ.โสฬส
วุฒิพันธุ์ |
Contact
lenses
|
จันทร์ 14 พฤษภาคม
2550
|
ผศ.นพ.วิชัย
ลีละวงศ์เทวัญ |
Electrophysiologic
tests
|
จันทร์ 21 พฤษภาคม
2550
|
อ.พญ.เบญจวรรณ
วุฒิวรวงศ์ |
Basic
knowledge of ophthalmic instruments
|
จันทร์ 28 พฤษภาคม
2550
|
อ.พญ.ทัศนีย์
ศิริกุล |
NOTE
ตอนที่ 2
ความรู้พื้นฐานทางจักษุวิทยา
BASIC
OPHTHALMOLOGY AND EXAMINATION
@ PTOSIS : เกิดจาก
1.Neurogenic
2.Aponeurosis
3.Mechanical 4.Myogenic
การตรวจ
:
1.Marginal Reflex Distance(MRD)
วัดระยะระหว่าง Upper
lid margin ถึง
Corneal
light reflex ปกติ~4-4.5 mm.
Grading
: Mild > 4 mm.
Moderate = 3 mm. Severe
= 2 mm.
2.Vertical Fissure Height
วัดระยะระหว่าง Upper
& Lower lid margins ค่าปกติ
ชาย 7-10
mm. หญิง
8-12
mm.,Upper lid ต่ำกว่า
Upper
limbus 2 mm.,Lower lid สูงกว่า
Lower
limbus 1 mm.
3.Upper Lid Excursion(ULE)
ดู Levator
function วางนิ้วโป้งบนคิ้วผู้ป่วยห้าม
action ของ
Frontalis
muscle,ให้มองลงต่ำสุดแล้วมองขึ้นสูงสุด
วัดความต่างของ Upper
lid margin
Grading
: Good > 12 mm.
Fair = 6-11 mm. Poor < 5 mm.
4.Upper lid crease : วัด Vertical distance จาก Lid crease ถึง Upper
lid margin ใน
Down gaze ค่าปกติผู้หญิง
10 mm.,ผู้ชาย
8 mm.,High
crease พบใน
Aponeurotic
defect , Absence of crease ใน Congenital
ptosis
แสดงถึง Poor
levator function
@ EYELID DISEASE
1.Benign
tumors : Molluscum contagiosum เป็น pale, waxy, umbilicated nodule แทรกที่แนวขนตา
เกิดจาก Pox
virus, Cyst of Moll (modified sweat gland) เป็น Fluid-filled lesion ใสๆ ที่ Anterior lids margin ส่วน
Cyst of
Zeis (modified sebaceous gland) เป็น
Oily
contents เหมือน
Sebaceous
cyst แต่
Sebaceous
cyst มี
Central
punctum
: Squamous cell
papilloma เป็น most common benign ติ่งสีเดียวกับผิวหนัง, ส่วน
Basal cell
papilloma (Seborrhoeic keratosis) เป็น
greasy
brown, Actinic keratosis เป็น dry scaly lesion on red base (pre-squamous cell CA) และ
Xanthelasma
: yellow subcut.plaques of cholesterol มักพบที่ medial aspects eyelids คนแก่
: Naevi แบ่งเป็น
Intradermal
ที่
lid margin
(มีหรือไม่มีสีก็ได้)
พบบ่อยสุด
ส่วน Junctional
(ระหว่าง
epidermis
& dermis) จะเป็นสีน้ำตาลแบนกว่า
มีโอกาสเป็นมะเร็งเล็กน้อย
และ Compound naevus เป็นลักษณะรวมทั้ง 2 ชนิด
2.Malignant
tumors : ที่พบบ่อยที่สุดคือ
Basal cell
carcinoma 90% (3 type:nodular เป็น shiny indulated nodule,ulcerative เป็น
rodent
ulcer,sclerosing เป็น
flat
indulated plaque) พบบ่อยสุดที่ Lower eyelid>Medial canthus (Local invade orbit มากสุด)>Upper>Lateral
ส่วน
Squamous
cell carcinoma พบ
5-10% พบบ่อยที่
Lower lids
เหมือนกัน
เป็น scaly
crusting erosions และ
Sebaceous
gland carcinoma (nodular & spreading type) พบน้อย
แต่มักเปลือกตาบนเพราะมาจาก Meibomian glands แรกๆดูเหมือน recurrent chalazion
ส่วน Kaposis sarcoma เป็น Vascular tumor in AIDS
: เรียงลำดับการพบบ่อย
Basal cell
(local invade)>Squamous cell (regional LN.)>Sebaceous (LN, liver,
lung)>Malignant melanoma (potential lethal) ถ้าเรียงตามความรุนแรงเรียงย้อนกลับ
@ PROPTOSIS : ใช้
Hertel
exophthalmometer หรือไม้บันทัดพลาสติก
วัดทั้งท่า Erect & Supine position ดูระยะระหว่าง
Apex
cornea ถึง
Lateral
orbital rim ค่าปกติ
< 20
mm., Abnormal
เมื่อ
>
21 mm.,
ถ้า 2
ตาต่างกัน
>
2 mm.ÞSuspicious
Radiography
:
Watersview
คาง slightly
elevated Þ Detection orbital floor fracture
@ GRAVES DISEASE : Werners classification (NO SPECS)
Class
0 :
No signs or symptoms
Class
1 : Only
signs (upper lid retraction, lid lag), no symptoms
Class
2 : Soft
tissue involvement with symptom&signs (tearing, lid swelling, FB sensation,
enlarged lacrimal gland, chemosis)
Class
3 :
Proptosis(พบ 2/3)
> 21 mm
Class
4 : Extraocular
muscle involvement(พบ 1/3)
Inferior rectus first affected
Class
5 : Corneal
involvement , secondary infection & perforation
Class
6 : Sight
loss, secondary to compromise of optic nerve blood supply
@ EPIPHORA :
1.Fluorescein
Disappearance Test หยด Fluorescein ปกติ No dye stain after 2 minutes, ถ้า Prolonged retention Þ Inadequate lacrimal drainage grade 1-4
2.Jones
Dye Test
ใช้ทดสอบผู้ป่วยที่สงสัย Partial obstruction drainage system
# Primary test : แยก
Partial
obstruction & Primary hypersecretion of tear โดยหยด Fluorescein ใน
conjunctival
sac หลังจากนั้น
5 นาที
ใช้สำลีพันปลายไม้ชุบ 4%Cocaine สอดใต้ Inferior turbinate at nasolacrimal duct opening แปลผล
: Positive
Þ พบสีแสดงว่าเป็น Primary hypersecretion , ถ้า
Negative Þ ไม่พบสี แสดงว่ามี Partial obstruction or Failure of lacrimal pump
mechanism ให้ทำ
Secondary
dye test ต่อ
# Secondary test : ให้หยอดยาชาใน
conjunctival
sac,
ล้าง fluorescein
ที่เหลือ,
Irrigate sac ด้วย
saline แปลผล
: Positive
Þ
พบสีที่จมูกแสดงว่ามี Partial
obstruction of nasolacrimal duct, ถ้า Negative
Þ
ไม่พบสีที่จมูกแสดงว่ามี Partial
obstruction of upper drainage system (punctum, canaliculi) or Defective lacrimal
pump mechanism
@ KERATOCONJUNCTIVITIS SICCA
1.Tear
Film Break-up Time(BUT) ดู Precorneal Tear film stability โดยหยด
fluorescein
ที่
lower
fornix ให้กระพริบตาหลายๆครั้ง,ดูด้วย
Cobalt
blue slit lamp นับเวลาจาก
Last blink
ถึง
First dry
spot หลายๆครั้ง
(ต้องไม่ซ้ำที่เพราะอาจเป็นจาก
corneal
surface abnormal)
ถ้า <
10 sec Þ Abnormal
2.Schirmers
Test
ใช้ Whatman
filter paper ขนาด
5x35 mm. (ถ้าหยอดยาชา
= ดูเฉพาะ
basic
secretion,ถ้าไม่หยอดยาชา
= ดู
basic+reflex
tear) พับปลาย
filter
paper 5 mm.ใส่ที่รอยต่อ
Middle
& Outer third lower lid ให้คนไข้ลืมตา
ดูที่ 5
นาที
การแปลผล :
Normal
> 15 mm.(ถ้าหยอดยาชาจะน้อยกว่านี้เล็กน้อย)
5-10
mm. = Borderline
< 5 mm. = Impaired secretion
3.Fluorescein
Clearance Test (FCT) ดูทั้ง
Basic
& Reflex tearing ทำโดยซับน้ำตา 2 ตาÞ หยอดยาชาÞ
(5นาที)
ซับให้แห้งÞ1%Fluoresceine + ยาชาหยด
inferior
fornix 2 ตาÞ (10นาที)
Schirmer test strip1 (1นาที)+recordÞ (10นาที) strip2 (1นาที)+recordÞ (10นาที) strip3 (1นาที)+cotton
bud กระตุ้นโพรงจมูก
2 ข้าง+บันทึกผล
@ CORNEA
1.
Pachymetry :
วัด
Corneal
thickness เป็น
Indirect
indication of Integrity of corneal endothelium ค่าปกติความหนาที่ Limbus = 0.7-0.9 mm,
ความหนา Central
cornea = 0.49-0.56 mm.,
ถ้า >
0.6 mm.Þ Suggest endothelial disease
2.
Specular microscopy
ถ่ายภาพ Corneal
endothelium ดู
Size, Density,
Distribution
3.
Keratoscopy ดู
Abnormal
corneal shape เช่น
Hand-Held
Placidos disc, Photokeratoscopes,C omputer-assisted photokeratoscopes
(Corneo-scope)
4.
Culture
media
#
Blood agar for aerobic organism
#
Thyoglycolate broth for facultative anaerobic organisms
#
Chocolate agar for Neisseria and Haemophilus spp.
#
Sabourauds agar for fungus
#
Brain-Heart infusion broth for fungi that fail to grow on Sabouraud
#
Non-nutrient agar with E.coli for acanthamoebae
#
Lowenstein-Jensen medium for Mycobacterium tuberculosis
5.Chemical
burn
: Grading(Hughess classification)
Grade
1 : no
corneal opacity, no limbal ischemia, good prognosis, minimal scar
Grade
2 :
corneal haze but iris details visible, limbal ischemia < 1/3, good
prognosis
, vision loss 2-7 lines
Grade
3 :
corneal haze obscures iris details, limbal ischemia 1/3-1/2 ,guarded
prognosis, vision < 20/200
Grade
4 :
corneal opaque, limbal ischemia > 1/2, poor prognosis, high risk perforation
or phthisis
6.
การเขียนภาพ
Cornea
สีดำ
= Corneal
scar
สีเขียว
= Corneal
epithelial defect, SPK, FK
สีเหลือง
= Corneal
infiltration, Hypopyon
สีแดง
=
Neovascularization, Hyphema
สีน้ำตาล
= ขอบ
Iris,
Pigmented KP, PAS
สีฟ้า
= Corneal
edema
@ Traumatic hyphema : grading
Grade
1 : < 1/3 of A/C
Grade
2 : 1/3 1/2 of A/C
Grade
3 : 1/2 to near total A/C
Grade
4 : Total A/C (eight ball)
@ UVEITIS
1.Aqueous cell เป็น sign active inflammation ใช้ Maximal intensity & magnification oblique
slit beam 3 mm.long,1 mm.wide การแปลผล
5-10 cells = +1 11-20
cells = +2
21-50 cells = +3
>50 cells = +4
2.Aqueous flare เป็น Leakage of protein from damaged blood vessel ไม่ใช่
sign of
active inflammation ดูวิธีเดียวกับ
aqueous
cell แบ่ง
degree ตาม
Obscuration
of iris details
Faint-Just
detectable = +1
Moderate-Iris detail clear = +2
Marked-Iris
detail hazy = +3
Intense-With
severe fibrinous exudate =+4
@ SYPHILIS : diagnostic test
1.Flurescent
Treponemal Antibody Absorption(FTA-Abs)
เป็น specific
test to anti-triponemal antibodies, จะ positive ตลอดชีวิตแม้รักษาแล้ว, การแปลผลเป็น Reactive, Weakly
reactive, Non-reactive
2.Venereal
Disease Research Laboratory(VDRL) เป็น Screening จะ
positive ใน
Primary
chancre และ
negative เมื่อรักษาหาย
3.MHA-TP
and TPHA (Haemagglutination tests for treponema pallidum
เป็น
specific
test for treponemal antibody แต่อาจ negative ใน Early
primary syphilis และอาจ
positive ใน
Yaws
4.Dark-ground
microscopic examination : ดู
Spirochaete
จาก
chancre or
mucocutaneous lesion
@ GLAUCOMA : Aqueous outflow ผ่านทาง Trabecular route~90%,
ทาง Uveoscleral
route~10%, Normal IOL = 10-21 mmHg.(mean = 16 , SD=3
mmHg.)
1.Tonometry #
Goldmann tonometer เป็น
Double
prism มี
diameter =
3.06 mm.
# Schiotz เป็น
Indentation
tonometry
# Others เช่น
Perkins,
Air-puff (มีข้อเสียคือเสียงดังและ
accurate เฉพาะ
low to
middle pressure), Pulsair, Tono-Pen (จะ slightly overestimate at low & slightly underestimate at high
IOP.)
2.Gonioscopy
: Indirect Goniolenses เป็น mirrow image view of opposite angle เช่น
# Goldmann goniolens มี
contact
surface Æ12mm.ต้องใช้ coupling substance,
ใช้ทำ Argon
laser trabeculoplasty ได้
# Zeiss goniolens มี
contact
surface Æ9mm.ไม่ต้องใช้ coupling substance, มี
4 mirrors,
ใช้ทำ Indentation
แยก
Appositional
& Synechial angle closure ได้
: Direct goniolenses เป็น
direct
view เช่น
# Diagnostic goniolenses เช่น
Koppe รูป
dome มีหลายขนาด,
ให้ panoramic
views
# Surgical goniolenses เช่น
Barkan, Medical
Workshop, Thorpe, Swan-Jacob
Angle structure ที่สำคัญจาก anterior to posterior
n
Schwalbes line
เป็น Termination
of Descemets membrane เห็นเป็น Opaque line
n
Corneal wedge
เป็น two
linear reflections,one from external surface of cornea & its junction with
sclera,other from internal surface of cornea
n
Trabeculum
จาก Schwalbes
line to scleral spur เป็น
Ground-glass
appearance ประกอบด้วย
2 ส่วนคือ
Anterior (ติด
Schwalbe) เป็น
non-functional,
whitish color และ
Posterior
(ติด
Scleral
spur) เห็นเป็น
grayish
blue translucent,
การยิง Argon
laser trabeculoplasty จะยิงที่รอยต่อของ 2 ส่วนนี้
n
Schlemms canal
เป็น slightly
darker line deep to trabeculum อาจมองเห็นเลือดใน canal ได้ใน Carotid-cavernous fistula, Sturge-Weber
syndrome, Obstruction SVC.
n
Scleral spur
เป็น narrow
dense, often shiny, whitish band เป็น landmark ในการยิง ALT.
n
Ciliary body
อยู่ just
behind scleral spur as dull-brown or slate grey band
n
Iris process
เป็น small
extension of anterior surface of iris inserts at level of scleral spur,
พบ~1/3ของ normal eye
3.Grading of angle width : Shaffer system
โดยดูจาก Schwalbes
line, Trabeculum,
Scleral spur, Ciliary body
grade
4 (35-45°) : Widest angle เห็นถึง
Ciliary
body
grade
3 (20-35°) : Open angle เห็นถึง
Scleral
spur
grade
2 (20°) : Moderately narrow angle เห็นถึง
Trabeculum
grade
1 (10°) : Very narrow angle เห็นแต่
Schwalbes
line
grade
0 (0°) : Closed angle จาก
Iridocorneal
contact ไม่เห็น
apex of
corneal wedge
4.Visual fields ปกติเห็น 60°nasally,
90°temporally, 50°superiorly,
70°inferiorly, Blind spot at temporally 10°to20°,
An Isopter = area which given size target is visible, Scotoma = absolute or
relative defect in fisual field, Luminance = intensity of light stimulus,
Visible threshold = luminance of stimulus at perceived 50%of time when presented
statically
Perimetry เป็นวิธี
evaluate
VF.แบ่งเป็น
Qualitative
perimetry (screening VF.defect), Quantitative perimetry (ดู severity of VF.loss), Kinetic perimetry (moving stimulus from
non-seeing to seeing area เช่น simple confrontation, tangent screen, Lister, Goldmann), Static
perimetry (stimuli of varying luminance in same position ดีใน
quantitative
testing)
#
Manual perimetry เช่น
n
Lister perimetry :เป็น
Semicircular
flame ใช้ดู
entire VF.ให้สังเกตtarget
จาก
peripheral
จนมองเห็น
n
The tangent screen :ใช้ดู
Central 30°VF.โดยให้นั่งห่างจากจอ
1-2 ม.ดู target first seen&disappearsใช้ดีในการตรวจ
glaucoma
n
The goldmann perimetry :เป็น
hemisphere
domeรัศมี
33cm.มักใช้เป็น
Kinetic
mode (ใช้เป็น
static ก็ได้)
มี 5
spot sizes(I-V), Luminance 1-4
#
Automated perimetry เป็น accurate static method ใช้ Threshold perimetry ดู quantitative และ Suprathreshold ดู qualitative เช่นเครื่อง Octopus perimetry เป็น
Hemispherical
bowl ตรวจได้ทั้ง
2 อย่าง
ใช้ spot
size0.43°, 0.1sec.locations 25,72,132 ตรวจได้ทั้ง
full
field, central 30°, small part of VF.แสดงผลเป็นตัวเลข, สัญลักษณ์
หรือ graphic
สียิ่งดำแสดงว่า
absolute
defect
5.Steroid responsive : แบ่ง IOP.response หลังได้ topical betamethalone (ถ้ายา
potency แรงกว่านี้จะขึ้นเท่ากัน
และยา potency
อ่อนกว่านี้ก็มักไม่ขึ้น,
ส่วน systemic
steroid จะ
less
likely,
คนไข้ POAG
DM High myopia จะเสี่ยงเป็น
responsive
มากขึ้น)ใน
normal
population เป็น
- High
responders IOP>30mmHg.,
Moderate
responders IOP 22-30 mmHg, Non-responders no chang IOP
กลุ่มเสี่ยงต่อ
POAG :
High myopia, CRVO,RRD, Fuchsendothelial dystrophy, RP
6.Grading severity of damage
grade 1 : mild, early VF.defect, minimal cupping
grade 2 : moderate, definite arcuate scotoma, thinning of neuroretinal
rim
grade 3 : severe, extensive VF.loss, marked cupping
grade 4 : end-stage, small residual VF.& neuroretinal rim
7.Bleb typing
Type 1 : Thin & Polycystic Þ Good filtration
Type 2 : Flat, Thin, Diffuse, Relative avascular (เทียบกับ
surrounding
conjunctiva) Þ
Good filtration
Type 3 : Flat,Engorged vessels on its surface (& subconjunc. Fibrosis
Þ
Non-filtering
Encapsulated bleb (Tenons cyst) : Localized,Highly elevated,
Dome-shaped, Cyst-like cavity of hypertrophied Tenon with engorged surface
vessels Þ
Prevents filtration
การบรรยายลักษณะ
Bleb
PI
: Patent or Not Patent
Height
: Low , Moderated , High
Grading
: ดู Extension of bleb โดย
45o = 1 Grade
Vascularity
: 0 = No vascular at bleb
1
= Hypovascular than surrounding conjunctiva
2
= Vascularity เท่า
surrounding
conjunctiva
3
= Hypervascular than surrounding conjunctiva
@ CATARACT :classification
1.Capsular cataract : อาจเป็น Congenital or Acquired (เช่น
Pseudoexfoliation,
Gold, Chlorpromazine, Vossius ring, Posterior synechiae)
2.Subcapsular cataract : อาจเป็น
# Posteior : Age-related, Myotonic dystrophy, steroid admin, irradiation
# Anterior : AACG (glaukoflecken),
ใน
True
diabetic cataract เป็น snowflake posterior or anterior opacities
3.Nuclear cataract : age-related or congenital (rubella,
galactosaemia, cataracta centralis pulverulenta)
4.Cortical cataract : อาจเป็น age-related or congenital(very common, usually
not interfere vision)
5.Lamellar cataract : congenital เป็น
radial
spoke-like opacities
6.Sutural cataract : very common congenital มัก
familial เป็น
Y-shape
opaque, no clinical sig.
@ Retinal detachment :
1.definition # Retinal break = full-thickness defect of
neurosensory แบ่งเป็น
n
Flap tear : strip of retina pulled
anteriorly by vitreoretinal traction จาก posterior vitreous detachment
n
Operculated hole : traction
sufficient to teat piece retina completely free from retinal surface
n
Giant tear : extends > 90°
n
Dialysis : break along ora serrata มักจาก
blunt
trauma
2.Colour code : การเขียนภาพจอตา
ประกอบด้วยเส้นวงกลม
3 วงซ้อนกัน
วงในแทน Equator,วงกลางแทน
Ora
serrata และขอบทางด้านนอกหมายถึงขอบทางด้านหน้าของ
Pars plana
สีต่างๆที่ใช้เป็นสัญลักษณ์มาตราฐานสากลได้แก่
สีแดง
=
เขียนเส้นเลือดแดง,
Microaneurysm, Subretinal
intraretinal or preretinal hemorrhage
และ
Retinal
tear
สีน้ำเงิน
= เขียนเส้นเลือดดำ,
Detached retina, Retinal fold
และ
Lattice
degeneration
สีเขียว
= เขียน
Vitreous
hemorrhage
สีดำ
= เขียน Hyperpigmentation ของ
RPE.&
Choroid,
Fibrous proliferation, Cotton-wool
patch,
Ora serrata และ
Exudate
สีน้ำตาล
= เขียน
Pigment ใต้จอตาที่ลอกหลุด
สีขาว
=
จอตาที่ปกติ
สีเหลือง
= เขียนตำแหน่งที่ได้รับการรักษาด้วย
Diathermy,
Photocoagulation, Active chorioretinitis และ
Retinal
edema
สีม่วง
=
เขียน Flat neovascularization
สีส้ม
= เขียน Elevated neovascularization
3.Goldmann triple-mirror
มี 4 ส่วน
#
Central part ดู
30° posterior pole
#
Equatorial mirror (largest, oblong in shape) ดูจาก
30°ถึง equator
#
Peripheral mirror (intermediate size, square shape)
ดูระหว่าง equator
& ora serrata
#
Gonioscopic mirror (smallest, dome shape)
ดู extreme
retinal periphery & pars plana
4.Proliferative Vitreoretinopathy (PVR)
1983 grading
grade A : diffuse vitreous haze, Tobacco dust (pigmented macrophages)
grade B : wrinkling inner retinal surface, tortuosity blood vessels,
rolled&irregular edges of retinal break
grade C : full thickness rigid retinal folds, vitreous heavy condensed แบ่งเป็น C1 = 1 quadrant, C2 = 2 quadrants, C3 = 3
quadrants
grade D : fixed retinal folds in four quadrants แบ่งเป็น
D1 = wide
funnel shape, D2 = narrow funnel shape, D3 = closed funnel
1991 grading
grade A : diffuse vitreous haze, Tobacco dust
grade B : wrinkling inner retinal surface, tortuosity blood vessels,
rolled&irregular edges of retinal break
grade C P 1-12 : posterior to equator full thickness folds,subretinal
strands
grade C A 1-12 : anterior to equator full thickness folds, subretinal
strands
@ RETINAL VASCULAR DISORDERS
1.Diabetic retinopathy :
#
#
Clinically Significant Macular Edema : one or more
n
Retinal edema within 500mm of central fovea
n
Hard exudate within 500mm of fovea & adjacent retinal edema
n
Retinal edema >1 disc
area(1500mm), any part within I disc diameter of center
of fovea
#
#
2.Hypertensive retinopathy : เริ่มจาก
retinal
arteriole narrowing®Vasoconstriction, Leakage,
Arteriosclerosis แบ่ง
Grading
grade
1 : mild generalized arteriolar attenuation
grade
2 : more severe, generalized&focal arteriolar constriction, deflection of
veins at AV.crossing (Salussign)
grade
3 : copper-wiring arterioles, banking veins distal to AV.crossing (Bonnets
sign), Flame shaped hemorrhage, cotton-wool spots, hard exudate
grade
4 : grade 3 + silver-wiring arterioles, disc swelling
3.Retinopathy of Prematurity
Location
Þ Zone 1 : circle รัศมี
2 distance
จาก
disc to
macula
Zone 2 : จาก
Zone 1 ถึงรัศมีของ
nasal ora
serrata
Zone 3 :
residual temporal cresent
Staging
Þ Stage 1 (demarcation line) : thin,
tortous, gray-white line ขนาน
ora (เด่นทาง
temporal) แบ่ง
Avascular
immature peripheral retina & Vascularized posterior retina
Stage
2 (ridge) : line กลายเป็น
ridge นูน, มี
vessel เข้ามาเป็น
artery
& vein shunt
Stage 3 (ridge & Fibrovas.prolife.) : NV., ridge pink, dilated vessel
posterior to equator, Retinal hemorrhage,
อาจมี vit.hemorrhage
Stage 4 (subtotal RD) : tractional RD.เริ่มจาก
periphery เข้า
central,
มักเกิดเมื่ออายุ 10
wk.(A=macular on, B=macular
off)
Stage 5 (total RD)
PlusDisease
คือ
บวกมี dilated
veins & tortuosity arterioles in posterior fundus
@ MACULAR DISEASE :
Macula
= oval area 5 mm.Æมี
xanthophyll pigment, >1 layer ganglion cells
Fovea
= depress in inner retinal surface at center macula ขนาด
1 DDเห็นเป็น
light
reflex
Foveolar
= central floor fovea 0.35mmÆ,
เป็นส่วนที่บางสุด
ไม่มี ganglion
cells มีแต่
cone &
their nuclei, มี umbo
เป็น
depression
เล็กๆตรงกลาง
Foveal
avascular zone(FAZ) = ใน fovea
แต่นอก
foveolar
RPE
: ที่
fovea
cells จะสูง
บาง มี melanosome
ใหญ่และมาก
Bruchs
membrane : มี
5 ชั้น1)
basal lamina of RPE 2) inner collagenous layer 3) thicker band elastic fiber 4)
outer collagenous layer 5) basal lamina choriocappilaris
#
การแยก
Macular
Dz.&Optic n.Dz.
Macular
Dz.Obstruct
central vision Optic
n.Dz. Center Hole
RAPD
usually negative
positive
Color vision normal
impaired
Examination
Þ Amsler
grid
ดู 10°VF., screen macular Dz.&subtle optic
n.lesion, เป็น
chart 10cm2แบ่งเป็นช่องละ
5 mm.(=1°) ดูที่ 1/3 ม.ดู
distortion
& blur ทีละตา
Photostress test
ใช้แยก Macula
Dz.จาก
Optic
n.Dz. โดยให้
best
correct VA.ดูไฟจาก
indirect
ophthalmoscope ห่างตา
3 cm.นาน
10 วินาที
จับเวลา Photostress
recovery time (PSRT) คือจนอ่านได้
3 ตัวจาก
pre-test
acuity line ทำทั้ง
2 ตา
ถ้ามี Macular
Dz. PSRT.>50 sec.
@ MACULAR HOLE : staging (Gass classification)
Stage
1 :
(Impending macular hole) foveal
detachment,small rounds yellow spot at the fovea(1-A) or ring in center of
fovea(1-B)
Stage
2 :
Macular hole < 400 mm
in size
Stage
3 :
Macular hole > 400 mm,
no posterior vitreous detachment
Stage
4 : Macular hole > 400 mm,
and definite posterior vitreous detachment
@ FUNDUS FLUORESCEIN ANGIOGRAPHY
Phase
1 :
Pre-arterial phase คือ choroidal
circulation filling but no dye reach retinal arteries
Phase
2 :
Arterial phase หลัง
phase 1 ~1sec.ตั้งแต่ dye first appear in arteries จน
fill เต็ม
arterial
circulation
Phase
3 :
Arteriovenous (capillary) phase complete filling arteries&capillaries &
early lamellar flow in veins
Phase
4 :
Venous phase แบ่งตาม
extend
venous filling & arterial empty เป็น early,mid,late stages
Hyperfluorescein :
n
RPE window defect (atrophy
overlying RPE.cells)
n
Pooling of dye จาก
breakdown
outer blood-retinal barrier เช่น RPE.detach.&Subretinal space
n
Leakage of dye จาก
breakdown
inner blood-retinal barrier เช่น choroidal & retinal new vessel, Papilledema
n
Staining of tissues จาก
prolonged
retention of fluorescein
Hypofluorescein :
n
Blockage of fluorescein จาก
increase
pigment,hard exudate,blood
n
Obstruction of retinal or choroidal
circulation
n
Loss of vascular tissue เช่นใน
severe
myopic degeneration or chorioderemia
@ ELECTROPHYSIOLOGICAL TEST
1.Electroretinography(ERG)
กระตุ้นโดยแสง มี electrode
ที่
contact
lens หรือ
eyelid และที่หน้าผาก
แสดงเป็น a
wave = initial negative deflection จาก photoreceptor,
bwave = positive defraction จาก Bipolar cell & Muller cells แบ่งเป็นsubcomponent
b1(represent rod&cone activity), b2(cone activity) อาจแยกดู
Rod
responses โดยตรวจในห้องมืดหรือ
blue light
และ
Cone
responses โดยตรวจในห้องสว่างหรือ
red light
2.Electro-oculography(EOG)
ติด electrode
ที่ผิวใกล้
medial
& lateral canthi ให้ผู้ป่วยกรอกตา
side to
side ทำทั้ง
light
& dark-adapted states คำนวนโดยเอา maximal height in light หารด้วย
minimal
height in dark แล้วคูณด้วย
100 ค่าปกติ
> 185% ค่า
EOG บอกถึง
activity ของ
RPE &
Photoreceptors
@ CHOROIDAL NEOVASCULAR MEMBRANE
: classified ตาม
relation
to center of FAZ.
1.Extrafoveal
= > 200mm from center of FAZ.
2.Subfoveal
= involving center of FAZ., very
poor prognosis
3.Juxtafoveal
= closer than 200mm
from center of FAZ.but not involving center itself
@ POSTERIOR SEGMENT EXAMINATION INSTRUMENT
Instrument |
ขยาย |
viewo |
Image |
Indirect+14D |
4x |
40 |
Invert&Reverse
(real) |
+20D |
3x |
45 |
Invert&Reverse
(real) |
+30D |
2x |
50 |
Invert&Reverse
(real) |
Direct
Oph. |
15x |
5 |
Erect
(virtual) |
Hruby(high
-) |
12x |
10 |
Erect
(virtual) |
Goldmann |
10x |
20 |
Erect
(virtual) |
Fundus
Camera |
2.5x |
30 |
Erect
(virtual) |
@ STRABISMUS
1.Versions = binocular movement
#
Six cardinal positions of gaze : dextroversion,
laevoversion,dextroelevation,laevoelevation,dextrodepression,laevodepression
#
Yoke muscles คือกล้ามเนื้อของสองตาที่ทำหน้าที่กลอกตาไปทิศเดียวกัน
เช่น RLR
& LMR , RSR & LIO
#
Herings law : equal & simultaneous innervation flows to yoke muscles
AC/C ratio ; amount of convergence (prism diopters) per unit (D) change
in accommodation ค่าปกติ
4-5 prism
diopters
2.Examination
#
Hirschbergs test : ปกติ
just nasal
to center both eye ถ้า light reflex อยู่ที่ temporal border pupil = 15°, ถ้าที่ limbus = 45°
#
Krimskys test วาง prism หน้า deviated eye จน light reflex ตรง
#
Cover - uncover test : monocular test ควรตรวจทั้ง near & distance ,ตรวจตาที่
light
reflex ไม่
displace ก่อน,
จะมี movement
เมื่อมี
Tropia
#
Alternate cover test : ตรวจ
Phoria,
ทำเฉพาะเมื่อ Cover-uncover
ปกติ
ปิดตา ~ 2 วินาที
#
Prism and Alternate cover test : ดูรวม total deviation ถือ prism หน้าตา ให้ base ชี้ไปทางตรงข้ามกับที่
deviated แล้วทำ
Alternate
cover test ปรับกำลัง
prism จนตาไม่
move,
angle of deviation = strength of prism
#
Maddox wing tests : วัด
amount of
heterophoria ที่
near
fixation(1/3 m.),
อุปกรณ์ตาขวาจะมองเห็นแต่ white vertical arrow & red horizontal arrow ,ส่วนตาซ้ายจะมองเห็น
horizontal
& vertical row of numbers ทดสอบ Horizontal deviation โดยถามตัวเลขที่ลูกศรขาวชี้
และทดสอบ Vertical
deviation โดยถามตัวเลขที่ลูกศรแดงชี้
ส่วน Cyclodeviation
ให้คนไข้หมุนลูกศรแดงจนขนานกับตัวเลขแนวนอน
#
Maddox rod tests : เป็น
series
cylindrical red glass rods ทำให้เห็น light spot เป็น
red streak
วางหน้าตาขวา
โดย base
prism ชี้ทิศตรงข้ามกับ
deviation
การแปลผล
ถ้าเส้นแดงอยู่ซ้าย = Exophoria, ถ้าเส้นแดงอยู่ขวา = Esophoria
#
Hess test
: ใช้ทดสอบ
Paretic
deviations โดยให้ผู้ป่วยใส่แว่น
red-green
filter โดยสีแดงอยู่ตาขวา
และถือไฟฉายสีเขียว
ส่วนผู้ทำการทดสอบถือไฟฉายสีแดง
ฉายไฟให้ผู้ป่วยฉายไฟทับ(ถ้าตาปกติจะฉายทับได้ทั้ง
9 position
of gaze) แล้วสลับข้างสีแว่นผู้ป่วยทำซ้ำ
#
Less screen
เหมือน Hess
test แต่ไม่ต้องใส่แว่น
ใช้ 2
glass screen วางตั้งฉากกัน
มีกระจก 2
ด้านกั้นกลาง
ให้ดู ขนาด chart
ทั้ง
2 อันที่เห็นเล็กแสดงว่าตานั้นมี
paretic m.ส่วนอันที่เห็นใหญ่แสดงว่าตามี
overacting
m.
#
Base-out prism test :ใช้
base-out
prism ดู
corrective
eye movement เป็น
sensitive
method ในการ
detect
BSV.
#
Worths four dot test : ให้ใส่
red lens หน้าตาขวา(เห็นแต่สีแดง)และ
green lens
หน้าตาซ้าย (เห็นแต่สีเขียว)
ให้มองกล่องแสงมีวงกลมสีแดงบน,สีเขียว
2 วงและสีขาว
1 วงล่างสุด
การแปลผล
ถ้ามองเห็นทั้ง
4 จุด
=
เห็น
4 จุด
+ มี
manifest
squint
= ARC.
เห็นเฉพาะ
2 จุดแดง
= Left suppression
เห็น
3 จุดเขียว
= Right suppression
เห็น
2 จุดแดง
+ 3 จุดเขียว
= Diplopia
บอก
green and
red lights alternate
= Alternating suppression
#
After-image test : กระตุ้น
right
fovea ด้วย
vertical
bright flash และกระตุ้น
left fovea
ด้วย
horizontal
flash แล้วให้วาดภาพถ้าเส้นตัดกัน
=
#
Bagolini striated glasses : ใช้
series
cylindrical glass rods วางใน trial frame มุม 45°
& 135°ถ้าตาปกติและARC.จะเห็นเส้นทั้ง 2 แนวตัดกันตรงกลาง
#
Synoptophore
: 2 cylindrical tubes + กระจกตั้งฉากและเลนส์
+6.50D.ที่
each
eyepiece ตรวจแบบ
1)
Simultaneous perception (first grade) เช่นดูรูปนกและรูปกรง
บอกถึง Amblyopia
2)
Fusion (second grade) ให้ดูรูป
2 ตาประกอบกันเช่นกระต่ายถือดอกไม้
เป็นการบอกได้ถึงรายละเอียดของภาพ
3)
Stereopsis (third grade) สามารถบอกถึงความลึกของรูปเดียวกันจากมุมที่ต่างกันเล็กน้อยได้
การตรวจ Stereopsis ด้วย
Titmus
test เป็น
three-dimension
polaroid vectograph โดยให้ดูผ่าน Polaroid glasses และการทดสอบอื่นๆเช่น
TNO random dot test (รูปรูปทรงต่างๆ),
Lang test (รูปดาว),
Frisby test (ดู
hidden
circle)
#
Three-step test(Parks) : ใช้
diag.
Paretic muscle with Vertical misalignment เช่น
SO.palsies
โดยเขียนแกน
muscle จากซ้ายไปขวาแถวบน
RSR, RIO
LIO, LSR และแถวล่าง
RIR, RSO
LSO, LIR
Step 1 : ดูว่าตาใดเป็น
Hypertropia
โดยใช้
Cover-uncover
test วงกล้ามเนื้อที่สงสัย
weakness เช่น
Right
hypertropia วงRIR,
RSO และ
LIO, LSR (แถวนอนตรงข้ามกับ
cornea)
Step 2 : ดูว่า
Vertical
deviation มากขึ้นใน
right gaze
or left gaze วงกล้ามเนื้อที่สงสัยอ่อนแรง
เช่น deviate
มากขึ้นใน
left gaze วง
RIO, RSO และ
LSR, LIR (แถวตั้งด้านตรงข้าม)
Step 3 : ใช้
Bielschowky
head-tilting test โดย Head
tilt to right then to left ดู Vertical deviated มากเมื่อ tilt ไปด้านใด
เช่นด้านขวา วง RSR,
RSO และ
LIO, LIR (ปลายบนชี้ไปด้านตรงข้าม
= ซ้าย)
Muscle ที่
Weakness คือ
muscle ที่ถูกวงทั้ง
3 steps
@ PHOTOSCREENER : เครื่องมือคล้ายกล้องถ่ายรูปสามารถบอก
Strabismus
และ
Refractive
error ได้โดยดู
Light
reflex รูปบนและรูปล่าง
Light
reflex : อยู่ด้านบนและด้านขวาผู้ป่วย
=
Myopia
อยู่ด้านล่างและด้านซ้ายผู้ป่วย
= Hyperopia
อยู่สลับ
Pattern กัน
= Astigmatism
(ขนาด
Light
reflex กว้าง
= Power
refractive error มาก)
คำย่อที่ควรทราบใน Ophthalmology
Ocular
Examination
CC
= with correction
CF
= counting finger
HM
= hand motion
IOP
= intraocular pressure
OD
= oculus dexter = RE
= right eye
OS
= oculus sinester = LE
= left eye
OU
= oculus uterqe = BE
= both eyes
PD
= pupillary distance
PH
= pinhole
PJ
= light projection
PL
= light perception
RAPD
= relative afferent pupillary
defect
SC
= without correction
VA
= visual acuity
VF
= visual field
External Eye
Segment
RUL
= right upper lid
RLL
= right lower lid
LUL
= left upper lid
LLL
= left lower lid
ET
= esotropia
XT
= exotropia
Alt.
= alternate
DD
= prism diopter
E
= esophoria
X
= exophoria
HT
= hypertropia
AC/A
=
accommodative convergence to accommodation ratio
NPA
= near point of accommodative
NPC
= near point of convergence
DVD
= dissociated vertical
deviation
Anterior Eye
Segment
AACG
= acute angle closure
glaucoma
A/C
= anterior chamber
ASC
= anterior subcapsular
cataract
CACG
= chronic angle closure
glaucoma
C/F
= cells and flare
HMC
=
hypermature cataract
IK
= interstitial keratitis
IOL
= intra-ocular lens
KP
= keratic precipitate
NS
= nuclear sclerosis
PAS
= peripheral anterior
synechia
PCO
= posterior capsule opacity
PEE
= punctate epithelial erosion
POAG
= primary open angle glaucoma
PSC
= posterior subcapsular
cataract
TM
= trabecular meshwork
SIC
= senile immature cataract
SMC
= senile mature cataract
SPK
= superior punctate keratitis
Investigation
DCG
= dacryo-cystogram
EOG
= electro-oculogram
ERG
= electroretinogram
FCT
= fluorescein clearance test
FFA
= fundus fluorescein
angiography
UBM
= ultrasonic Bio-Microscope
U/S
= ultrasound
VEP
= visual evoked potential
VER
= visual evoked response
Posterior Eye
Segment
AION
= anterior ischemic optic
neuropathy
AMD
=
age-related macular degeneration
APMPPE
= acute
posterior multifocal placoid pigment epitheliopathy
BDR
= background diabetic
retinopathy
BRAO
= branch retinal artery
occlusion
BRVO
= branch retinal vein
occlusion
CME
=
cystoid macula edema
CRAO
= central retinal artery
occlusion
CRVO
= central retinal vein
occlusion
CSME
= clinically significant
macular edema
CSR
= central serous retinochoroidopathy
DR
= diabetic retinopathy
ERM
= epiretinal membrane
ICE
= irido-corneal endothelial
syndrome
ICSC
=
idiopathic central serous chorioretinopathy
IOFB
=
intra-ocular foreign body
MH
= macular hole
NV
= neovascularization
PDR
= proliferative diabetic
retinopathy
PHPV
= persistent hyperplasia
primary vitreous
PPDR
= pre-proliferative diabetic
retinopathy
PVD
= posterior vitreous
detachment
PVR
= proliferative
vitreo-retinopathy
RD
= retinal detachment
ROP
= retinopathy of prematurity
RP
= retinitis pigmentosa
RPE
= retinal pigment epithelium
RRD
= rhegmatogenous retinal
detachment
Total
RD =
total retinal detachment
TRD
= trational retinal
detachment
VH
= vitreous hemorrhage
Ophthalmic
surgery
ALT
= argon laser trabeculoplasty
AMT
= amniotic membrane
transplant
Combined
= trabeculoplasty + cataract surgery
DCR
=
dacryocystorhinostomy
DTSCP
= diode transcleral
cyclophotocoagulation
ECCE
= extracapsular cataract
extraction
EDL
= endolaser
FGX
= fluid-gas exchange
HHA
=
human hydroxy apatite
ICCE
=
intracapsular cataract extraction
IOL
= intraocular lens
LASER
= light amplification by
stimulated emission of radiation
LASIK
= laser in situ
keratomileusis
LK
= lamellar keratoplasty
LPI
= laser peripheral iridotomy
LTP
= laser trabeculoplasty
MPC
=
membrane peeling and cutting
Nd-YAG
= neodinium yithium aluminium
granet
PHACO
= phacoemulsification
PI
= peripheral iridectomy
PK(P)
= penetrating keratoplasty
(procedure)
PPL
= pars plana lensectomy
PPV
= pars plana vitrectomy
PRK
= phetorefractive keratectomy
PRP
= panretinal photocoagulation
RK
= radial keratotomy
SBP
= scleral buckling procedure
SMT
= segmentation
Triple
= PK + cataract surgery + IOL
ยาหยอดตาที่มีใช้ในโรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ
Trade
name |
Medication |
บัญชี |
ราคา |
||
Antibiotics |
|||||
Chloramphenicol |
Chlor
Oph ed |
0.5%
chloramphenical ed |
1-ก |
20-
/ 10ml |
|
Chlor
Oph eo |
chloramphenical
eo |
1-ก |
20-
/ 5g |
||
Aminoglycoside |
Tobrex
ed |
0.3%
tobamycin ed |
2-ง |
95-
/ 5ml |
|
Cephalosporin |
Cefazolin
ed |
5
% cephazolin ed |
3 |
80-
/ 5ml |
|
Quinolone |
Ciloxan
ed |
0.3%
ciprofloxacin ed |
2-ง |
183-
/5ml |
|
Okacin
ed |
lomefloxacin
ed |
|
|
||
Other |
Polyoph
ed |
polymyxinB
+ neomycin + gramicidin |
1-ก |
25-
/5ml |
|
Terramycin
eo |
oxytetracyclineHCL
+ polymyxinB sulfate |
1 |
26-
/3.5g |
||
Fucithalmic |
fusidic
acid eye gel |
1-ค |
90-
/5g |
||
Antifungus |
AmphotericinB
ed |
1%
amphotericinB ed |
2-ง |
600-
/5ml |
|
Antiviral |
Zovirax
eo |
3%
acyclovir eo |
1-ค |
600-
/4.5g |
|
Corticosteroid
+ antibiotic |
|||||
Spersadexoline
ed |
0.1%
Dexamethazone + 0.5% chloramphenicol + 0.025% tetrahydozoline |
1-ค |
130-
/5ml |
||
Dex
oph ed |
0.1%
dexamethazone + 0.5% neomycin |
1-ค |
22-
/5ml |
||
Maxitrol
eo |
0.1%
dexamethasone + neomycin + polymyxin B |
|
|
||
Corticosteroid |
|||||
Pred
forte ed |
1%
prednisolone acetate |
1-ค |
80-
/5ml |
||
Flarax
ed |
0.1%
fluorometholone acetate |
1-ค |
76-
/5ml |
||
Efemoline
ed |
Fluorometholone
+ tetryzoline HCl |
|
|
||
NSAIDS |
|||||
Naclof
ed |
0.1%
diclofenac Na |
1-ค |
240-
/5ml |
||
Antiglaucoma
agents |
|||||
CA
inhibitor |
Diamox
tab |
Acetazolamide
250mg |
1-ก |
3.50-
/tab |
|
|
Acetazolamide
tab |
Acetazolamide
250mg |
|
|
|
B-blocker |
Timolol
ed |
0.5%
timolol maleate |
1-ก |
80-
/5ml |
|
|
Nyolol
gel |
0.1%
timolol maleate |
|
|
|
α2-agonist |
Alphagan-P
ed |
0.15%
brimonidine tartrate |
|
|
|
|
Betoptic-s
ed |
0.5%
betaxolol HCl |
1-ค |
205-
/5ml |
|
miotic |
Isoptocarpine
ed |
2%
Pilocarpine HCl |
1-ก |
89-
/5ml |
|
PG
analog |
Xalatan
ed |
0.005%
latanoprost |
2-ง |
880-
/2.5ml |
|
hyperosmotic
agent |
50%
glycerol solution |
1-ก |
20-
/60ml |
||
Mydriatic
& cycloplegic |
|||||
Atropine
ed |
1%
atropine sulfate |
1-ค |
105-
/5ml |
||
Cyclogyl
ed |
1%
cyclopentolate HCl |
1-ค |
200-
/15ml |
||
Mydriacyl
ed |
1%
tropicamide |
1-ค |
255-
/15ml |
||
Phenylephrine
ed |
10%
phenylephrine HCl |
1-ค |
115-
/5ml |
||
Antihistamine |
|||||
Histaoph
ed |
0.05%
antazoline HCl + 0.04% tetrahydrozoline |
1-ก |
40-
/10ml |
||
Oculosan
ed |
Zn
sulfate + Nephazoline |
3 |
110-
/10ml |
||
Antiallergy |
|||||
Zaditen
ed |
Ketotifen
fumarate |
|
|
||
Artificial
tears + lubricant |
|||||
Lac
Oph ed |
0.5%
hydroxypropylmethylcellulose |
1-ก |
30-
/10ml |
||
Tear
natural II |
HPMC
+ dextran |
3 |
158-
/15ml |
||
hypotears
plus SDU |
Artificial
tear, preservative free |
2-ง |
220-
/20pc |
||
Vislube
SDU |
0.18%
Na hyaluronate |
*** |
|
||
Genteal
ed |
HPMC
+ disappearing preservative |
|
|
||
Solcoseryl
eye gel |
Dried
protein-free dialysate of calf blood |
2-ง |
118-
/5g |
||
Anesthetic
agent |
|||||
Tetracaine
ed |
0.5%
tetracaine HCl |
1-ก |
|
||
Other
ophthalmic preparation |
|||||
3%
NaCl ed |
เภสัชตำหรับ รพธ. |
3 |
40-
/5ml |
||
2%
methycellulose |
เภสัชตำหรับ รพธ. |
3 |
|
||
Viscoat
inj |
Na
hyaluronate + chondroitin sulfate |
1-ค |
|
||
Amvisc
plus0.8 ml inj |
Na
hyaluronate |
|
|
||
10%
Fluorescein Na inj |
|
|
540-
/5ml |
||
Vitalux
Plus TR |
B-carotene,
vit.C, vit.E, Zinc, Copper, Riboflavin, Lutein, Selenium |
|
|
||
Miostat
inj |
Carbacol
inj |
1-ค |
291-
/1.5ml |
||
หมายเหตุ
1. *** อยู่ในบัญชีเวชภัณฑ์
ใช้ใบสั่งยาสีเขียว
2. บัญชี 1
คือบัญชียา ก,ข,ค
ตามบัญชียาหลักแห่งชาติและยาที่มีชื่อสามัญเดียวกับยาต้นแบบในบัญชี
ก,ข,ค หรือยาอื่นที่อยู่ในบัญชียา
รพ.
นอกเหนือจากยาบัญชียาหลักแห่งชาติที่คณะกรรมการเภสัชกรรมและการบำบัดเห็นชอบว่ามีความจำเป็นต้องใช้
บัญชี 2 คือบัญชียา
ง,จ ตามบัญชียาหลักแห่งชาติ
หรือยาที่มีชื่อสามัญเดียวกับยาต้นแบบในบัญชี
ง,จ
บัญชี 3 ยานอกบัญชียาหลักแห่งชาติ
บัญชี 1-ร
คือยาต้นแบบในบัญชียาหลักแห่งชาติที่มีชื่อสามัญตามบัญชี
1&2 หรือ ยาในบัญชียาหลักแห่งชาติมูลค่าสูงที่มีทางเลือกการใช้อื่น
Cycloplegics
& Mydriatics
Trade
name |
Generic
name |
Max.effect (min) |
Duration
(hr) |
10%Neosynephrine |
Phenylephrine |
15-20 |
3-4 |
1%Mydriacyl |
Tropicamide |
20-30 |
4-6 |
1%Cyclogyl |
Cyclopentolate |
30-60 |
24 |
2-5%Homatropine |
Homatropine |
1-2hr. |
24-72 |
0.25%Scopolamine |
Scopolamine |
1-2hr. |
5-7วัน |
1%Atropine |
Atropine |
หลายชม. |
12-14วัน |
วิธีผสมยาทางตาที่ใช้บ่อย
ยา |
วิธีการผสม |
Cefazoline
ed. |
Cefazoline(1000mg)
+ Sterile water 20 cc = 50 mg/cc = 5%Cefazoline |
Amikin
ed. |
Amikin(500mg/2cc)
+ Sterile water 10 cc = 50 mg/cc = 5%Amikin |
PGS.
Ed. |
PGS.1000000
U + Sterile water 10 cc = PGS.100000 U/cc. |
Vancocin
ed. |
Vancocin(500mg)
+ Sterile water 10 cc = 50 mg/cc = 5%Vancocin |
Gentamycin
forte |
Garamycin
ed.1 ขวด
+
Gentamycin inj. 80 mg. |
Amphotericin
B. ed. |
Amphotericin
B. 50 mg.+Sterile water 5 cc. Draw 1 cc(=10mg) + Sterile water เป็น
10cc
= 1 mg/cc = 0.1%Amphotericin B. |
Methyl
Prednisolone ed. |
Methyl
Prednisolone 500mg.+ NSS.10 cc = 50 mg/cc draw 2 cc = 100mg.+NSS. 8cc =
10mg/cc.= 1%Methyl Prednisolone |
Gancyclovir
inj. |
Gancyclovir(500mg)
+ Sterile water 10 cc draw 0.4 cc ผสมต่อจนเป็น 5 cc.ใช้ครั้งละ 0.05 cc. |
Botulinum
Toxin type A(Botox) |
Botox
100U/1 vial + NSS 2 cc = 50U/cc ใช้ 2.5 U for muscle injection |
Intraocular
Drugs Preparation
ยา |
วิธีเตรียมยา |
Vancomycin |
ยา500mg.+BSS10cc
draw 2cc+BSS8cc ใช้
0.1cc
= 1mg.
หรือ ยา 500mg+water
10cc draw 1cc+water4cc |
Ceftazidime (Fortum) |
ยา1g+water10cc
draw0.1cc ผสมเป็น
5cc ใช้
0.1cc = 0.2 mg. |
Gentamicin |
ยา
40mg/cc
draw 0.1cc+water 0.9cc ใช้
0.1cc = 0.1mg. |
Cefazolin |
ยา
1000mg+water
10cc draw 0.1cc+water 3.9cc ใช้ 0.1cc = 0.25mg. |
Amikacin |
ยา
250mg/2cc
draw 0.1cc+water0.2cc ใช้ 0.1cc = 0.41mg. |
Ampicillin |
ยา
1g+NSS
200cc. ใช้
0.1cc = 0.5mg. |
Ceftriaxone (Rocephin) |
ยา
1g+water
10cc draw 1cc+water 4cc ใช้
0.1cc = 2 mg. |
Amphotericin (Fungizone) |
ยา
50mg/vial
+ water 10cc draw 0.1 cc.+water 10cc ใช้ 0.1cc = 0.005 mg.(5mg/0.1cc) หรือ
ยา 50mg/vial+water
17cc. Draw 1cc+water 29cc ใช้ 0.1 cc = 0.010 mg.(10mg/0.1cc) |
Syringe
Insulin 0.1 cc. = 8 u.
Periocular (Subconjunctival) Drug
Amikacin
0.2 cc. = 25 mg. |
Cefazolin
100 mg. |
Ceftazidime
100 mg. |
Dexamethasone
18 mg. |
Vancomycin
25 mg. |
IOL.&
A-Constance
IOL |
A-Cons |
Æ |
F,N |
ALCON
SA60AT |
118.4 |
6 |
F |
ALCON
MA60BM |
118.7 |
6 |
F |
ALCON
MC50BD |
118.7 |
6.5 |
N |
ALCON
MZ30BD |
118.7 |
5.5 |
N |
ALCON
CZ70BD |
118.8 |
7 |
N |
EZE55 |
118.1 |
5.5 |
N |
EZE65 |
118.1 |
6.5 |
N |
AKREOS
ADAPT |
118.0 |
6 |
F |
AKREOS
FIT |
118.0 |
5.7 |
F |
F
= foldable
, N
= non - foldable
Power
IOL.(D) =
A - (2.5 x
เงื่อนไขการเรียกเก็บเงินผู้ป่วยสิทธิ์ต่างๆ |
||||
ตั้งแต่
1 เมษายน
2549
-
30
กันยายน
2549 |
||||
ประเภท |
กรณี |
เงื่อนไข |
แนวทางดำเนินงาน |
|
บัตรทอง |
ผู้ป่วยในสังกัดรพ
ธ |
|||
รักษาแบบ
OPD
ใน รพธ |
รพธ.รับเหมาจ่ายแล้ว
หัวละ 585.11 (351)
บาทต่อปี |
ควมคุมค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลตามความจำเป็น |
||
รักษาแบบ
IPD ใน รพธ |
เบิก
DRG
ตาม RW อัตราของ สสจ.ปทุมธานี |
ควมคุมค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลตามความจำเป็น |
||
เจ็บป่วยฉุกเฉิน
ที่รพ.อื่น |
72
ชม.แรกหรือก่อนรับแจ้ง
รพ.นั้นเบิกจาก สปสช
ได้ |
รพธ
ไม่ต้องรับผิดชอบค่าใช้จ่าย |
||
IPD หลังจาก 72 ชม หรือหลังรับแจ้ง ถ้าเป็น รพ.ในโครงการ
รพ.นั้นเบิกตาม
DRG
จาก สสจ.ปทุม |
กรณีเตียงเต็ม
ไม่ต้องรับกลับ รพธ
ก็ได้ |
|||
IPD หลังจาก 72 ชม หรือหลังรับแจ้ง
ถ้าเป็น
รพ.นอกโครงการ
สสจ.ตามจ่ายตามจริง |
ควรรับกลับ
หลังจากรับแจ้ง
โดยไม่ต้องรับผิดชอบค่ารักษาที่เกิดขึ้นก่อนรับแจ้ง |
|||
เจ็บป่วยไม่ฉุกเฉินที่
รพ.อื่น (ไปเอง
โดยไม่ได้ส่งตัวไป) |
รพ.ธ
ไม่ต้องรับผิดชอบค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้น |
ไม่รับกลับ
และไม่รับผิดชอบค่าใช้จ่าย |
||
หากผู้ป่วยต้องการกลับมารักษาโดยใช้สิทธิ์บัตรทองที่
รพ.ธ |
ผู้ป่วยต้องเดินทางมาเอง
ให้แพทย์ตรวจประเมินใหม่ |
|||
ส่งตัวไปรักษา
OPD |
รพธ
ตามจ่ายตามจริง |
ส่งตัวเฉพาะกรณีที่
เกินขีดความสามารถของ รพธ |
||
ส่งตัวไปรักษา
IPD
นอกจังหวัด |
สสจ.ปทุม
ตามจ่ายตาม RW 10300 |
ส่งตามที่แพทย์เห็นสมควร |
||
ส่งตัวไปรักษา
IPD
ในจังหวัด |
สสจ.ปทุม
ตามจ่ายตาม RW จังหวัด |
ส่งตามที่แพทย์เห็นสมควร |
||
ผู้ป่วยบัตรทองนอกสังกัด |
||||
รักษาแบบ OPD
ที่
รพธ
มีใบส่งตัว |
เรียกเก็บ
รพ.ต้นสังกัดตามค่าใช้จ่ายจริง |
รักษาพยาบาลตามที่แพทย์เห็นสมควร |
||
รักษาแบบ
IPD
ที่รพธ มีใบส่งตัวจาก รพ
นอกปทุม |
เบิก
DRG
รพ.ต้นสังกัด
RW 10300 |
ควมคุมค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลตามความจำเป็น |
||
รักษาแบบ
IPD
ที่รพธ
มีใบส่งตัวจากในจังหวัดปทุม
|
เบิก
DRG
ตาม
RW
อัตรา สสจ |
ควมคุมค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลตามความจำเป็น |
||
รักษาแบบ
OPD
หรือ
IPD
ไม่ฉุกเฉิน
ไม่มีใบส่งตัว
|
เรียกเก็บเงินสด
ไม่สามารถใช้สิทธิ์ได้ |
ประเมินค่าใช้จ่ายให้ผู้ป่วยทราบ
กรณีค่าใช้จ่ายสูงแนะนำกลับไปรักษา
โรงพยาบาลต้นสังกัด |
||
เจ็บป่วยฉุกเฉินที่
รพธ |
(สังกัดรพ.นอกปทุมธานี) 72 ชม. แรก รพ.ธ.
เบิกจาก สปสช.
หลังจากนั้นเบิกตาม DRG
(กรณีสังกัดรพ.ในปทุม)
ถ้าเป็น OPD เบิกได้ไม่เกิน
700 บาท
|
ให้การรักษาฉุกเฉิน
หากต้อง Admit
ให้ติดต่อ รพ.ต้นสังกัดเพื่อรับกลับ
หรือแจ้งให้รับผิดชอบค่าใช้จ่าย |
||
ประกัน สังคม |
ผู้ป่วยในสังกัด
รพธ |
|||
รักษาแบบ
OPD
และ IPD ใน
รพธ |
รับเงินเหมาจ่ายแล้ว
หัวละ 1200 บาทต่อปี |
ควมคุมค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลตามความจำเป็น |
||
เจ็บป่วยฉุกเฉิน
ที่ รพ.อื่น |
72 ชม. แรกหรือก่อนรับแจ้ง รพ.นั้นเบิกจาก
สปส. ได้
|
รพธ
ไม่ต้องรับผิดชอบค่าใช้จ่าย |
||
|
หลังได้รับแจ้ง
รพธ ต้องรับผิดชอบค่ารักษาตามจริง |
ควรไปรับผู้ป่วยกลับมารักษาที่
รพธ |
||
เจ็บป่วยไม่ฉุกเฉินที่
รพ.อื่น (ไปเองไม่ได้ส่งตัวไป) |
รพ.ธ
ไม่ต้องรับผิดชอบค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้น |
ไม่รับกลับ
และไม่รับผิดชอบค่าใช้จ่าย |
||
|
หากผู้ป่วยต้องการกลับมารักษาโดยใช้สิทธิ์
ปกส ที่ รพ.ธ |
ผู้ป่วยต้องเดินทางมาเอง
ให้แพทย์ตรวจประเมินใหม่ |
||
ส่งตัวไปรักษา
OPD
และ IPD ที่ รพ.อื่น |
รพ.ธ
ตามจ่ายตามค่ารักษาที่เกิดจริง |
ส่งตัวเฉพาะกรณีที่
เกินขีดความสามารถของ รพธ |
||
ผู้ป่วยนอกสังกัด
รพธ |
||||
รักษาแบบ
OPD
และ IPD ใน
รพธ มีใบส่งตัว |
เรียกเก็บตามค่าใช้จ่ายจริงจาก
รพ.ต้นสังกัด |
รักษาพยาบาลตามที่แพทย์เห็นสมควร |
||
รักษาแบบ
OPD
หรือ
IPD
ไม่ฉุกเฉิน
ไม่มีใบส่งตัว
|
เรียกเก็บเงินสด
ไม่สามารถใช้สิทธิ์ได้ |
ประเมินค่าใช้จ่ายให้ผู้ป่วยทราบ
กรณีค่าใช้จ่ายสูงแนะนำกลับไปรักษา
โรงพยาบาลต้นสังกัด |
||
เจ็บป่วยฉุกเฉินที่
รพธ |
72 ชม. แรก รพ.ธ. เบิกจาก สปส.
หลังจากนั้นเบิกตามค่าใช้จ่ายที่เกิดจริง |
ให้การรักษาฉุกเฉิน
หากต้อง Admit
ให้ติดต่อ รพ.ต้นสังกัดเพื่อให้รับผิดชอบค่าใช้จ่าย
และรักษาพยาบาลตามที่แพทย์เห็นสมควร |
||
ข้าราชการ |
กรณีรักษาแบบ
OPD
ทั่วไป |
|||
ยาในบัญชี |
ผู้ป่วยสำรองจ่ายเบิกจากกรมบัญชีกลางตามจริง |
รักษาพยาบาลตามที่แพทย์เห็นสมควร |
||
ยานอกบัญชี |
ออกใบรับรองเบิกจาก
กรมบัญชีกลางได้ |
รักษาพยาบาลตามที่แพทย์เห็นสมควร |
||
OPD
โรคต่อเนื่อง |
รพ.ธ
เบิกจากกรมบัญชีกลางตามจริง
ผู้ป่วยไม่ต้องสำรองจ่าย
ใช้ได้กับการเจ็บป่วยทุกโรค |
รักษาพยาบาลตามที่แพทย์เห็นสมควร |
||
กรณีรักษาแบบ
IPD |
รพ.ธ.
เบิกจากกรมบัญชีกลางตามจริง
ภายใน 30 วัน
|
รักษาพยาบาลตามที่แพทย์เห็นสมควร |
||
ส่วนเกินสิทธิ |
|
เรียกเก็บจากผู้ป่วย |
||
นักศึกษา
มธ. |
กรณีเจ็บป่วยทั่วไปทั้ง
IPD
และ
OPD |
มีสิทธินักศึกษา
และบัตรทอง
ซึ่ง รพธ.
ได้รับค่าหัวเหมาจ่ายแล้วจาก
สปสช และ มธ หัวละ 351
+ 200 บาทต่อปี
กรณีผู้ป่วยในสามารถเบิกค่ารักษาเพิ่มเติมจาก
สสจ.ปทุมธานี ตาม RW
จังหวัดได้ |
ควบคุมค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลตามความจำเป็น |
|
กรณีอุบัติเหตุ |
|
ควรใช้สิทธิ์ประกันอุบัติเหตุก่อนทุกครั้ง |
||
หมายเหตุ
:
ฉุกเฉิน
หมายถึง
หากคนไข้ไม่เข้ารับการรักษาอาจจะเป็นอันตรายถึงแก่ชีวิต
หรือเกิดอาการรุนแรงอาจเกิดภาวะทุพพลภาพ
ทั้งนี้ต้องใช้สัญญาณชีพเป็นตัวตัดสิน
(เช่น
คนไข้ช็อค
หรือโคม่า)
:
โรคต่อเนื่องของสิทธิราชการ หมายถึง
โรคที่ข้าราชการมาใช้สิทธิเป็นผู้ป่วยนอก
โดยไม่ต้องชำระเงิน
และได้ลงทะเบียนจากโรงพยาบาลแล้ว
และรวมถึงผู้ป่วยประเภทข้าราชการบำนาณด้วย (โรคต่อเนื่อง
25
โรค)
ICD 10
EYELID
H00.0
Hordeolum
H00.1
Chalazion
H01.0
Blephalitis
H01.1
Dermatitis of eyelid
H02.0
Entropion , Trichiasis
H02.1
Ectropion
H02.2
Lagophthalmos
H02.3
Blephalochalasia
H02.4
Ptosis
H02.8
Other disorders of eyelid
LACRIMAL SYSTEM
H04.0
Dracryoadenitis
H04.1
Dry eye
H04.2
Epiphora
H04.3
Acute dacryocystitis
H04.4
Chronic dacryocystitis
H04.5
Stenosis of lacrimal passage
H04.8
Other disorders of lacrimal passage
ORBIT
H05.0
Acute inflammation of orbit
H05.1
Chronic inflammation of orbit
H05.2
Exophthalmos
H05.3
Deformity of orbit
H05.4
Enophthalmos
H05.8
Other disorders of orbit
CONJUNCTIVA
H10.1
Allergic conjunctivitis
H10.2
Acute conjunctivitis
H10.4
Chronic conjunctivitis
H10.5
Blephaloconjunctivitis
H10.8
Other
conjunctivitis
H11.0
Pterygium , Pinguecula
H11.2
Symblepharon
H11.3
Subconjunctival hemorrhage
H11.8
Other disorder of conjunctiva
SCLERA
H15.0
Scleritis
H15.1
Episcleritis
H15.8
Staphyloma & Other disorders of sclera
CORNEA
H16.0
Corneal ulcer
H16.1
Superficial keratitis
H16.2
Keratoconjunctivitis
H16.3
Interstitial and deep keratitis
H16.4
Corneal neovascularization
H16.8
Other keratitis
H17
Corneal scar / opacity
H18.0
Corneal pigmentatio / deposit
H18.1
Bullous keratopathy
H18.2
Corneal edema
H18.3
Fold / rupture in Descemets
H18.4
Arcus senilis , Band keratopathy
H18.5
Corneal dystrophy
H18.6
Keratoconus
H19.1
Herpesviral keratitis
H18.8
Other disorders of cornea
Z94.7
Corneal transplant
status
IRIS &
CILIARY BODY
H20.0
Acute iridocyclitis
H20.1
Chronic iridocyclitis
H20.2
Lens-induced iridocyclitis
H21.0
Hyphema
H21.1
Rubeosis of iris
H21.2
Iris atrophy
H21.3
Cyst of iris , ciliary body , anterior chamber
H21.4
Pupillary membranes
H21.8
Other disorders of iris & ciliary body
LENS
H25
Senile cataract
H26.0
Infantile / juvenile cataract
H26.1
Traumatic cataract
H26.2
Complicated cataract
H26.3
Drug-induced cataract
H26.4
After cataract
H27.0
Aphakia
H27.1
Dislocation of lens
H27.8
Other disorder of lens
Z96.1
Pseudophakia
CHOROID
H30.0
Chorioretinitis
H30.2
Pars planitis
H30.8
Haradas disease
H31.0
Chorioretinal scar
H31.1
Choroidal degeneration
H31.2
Choroidal dystrophy
H31.3
Choroidal hemorrhage / rupture
H31.4
Choroidal detachment
H31.8
Other disorders of choroid
H32.0
Infectious & Parasitic chorioretinitis
RETINA
H33.0
Retinal detachment with break
H33.1
Retinochisis
H33.2
Serous retinal detachment
H33.3
Retinal break
H33.4
PVR with retinal detachment , TRD
H33.5
Other retinal detachments
H34.0
Transient retinal art. occlusion
H34.1
Central retinal art. occlusion
H34.2
Branched retinal art. Occlusion
H34.8
Retinal vein occlusion
H34.9
Other retinal vasc. occlusion
H35.0
Hypertensive retinopathy & Background retinopathy
H35.1
ROP
H35.2
PVR without RD
H35.3
Macular degeneration / hole / pucker
H35.4
Peripheral retinal degeneration
H35.5
RP , Stargardts disease
H35.6
Retinal hemorrhage
H35.7
Central serous chorioretinapathy , RPED
H36.0
Diabetic retinopathy
H35.8
Other retinal disorders
GLAUCOMA
H40.0
Glaucoma suspect Ocular hypertension
H40.1
POAG
H40.2
PACG
H40.3
Sec. Glaucoma from eye trauma
H40.4
Sec. Glaucoma from eye inflamm.
H40.5
Sec. Glaucoma from other eye dis
H40.6
Sec. Glaucoma from drugs
H40.8
Other glaucoma
VITREOUS
H43.0
Vitreous prolapse
H43.1
Vitreous hemorrhage
H43.3
Crystalline deposits
H43.8
PVD & Other disorders of vitreous
GLOBE
H44.0
Endophthalmitis
H44.4
Hypotony
H44.5
Absolute glaucoma
Phthisis bulbi
H44.6
IOFB , magnetic
H44.7
IOFB , nonmagnetic
H44.8
Other disorders of globe
OPTIC NERVE
& VISUAL PATHWAY
H46
Optic neuritis
H47.0
ION , Compression of optic n.
H47.1
Papilledema
H47.2
Optic atrophy
H47.3
Drusen of optic n.
H47.4
Disorders of optic chiasm
H47.5
Disorders of other visual pathways
H47.6
Disorders of visual cortex
STRABISMUS
H49
Paralytic strabismus
H50.0
Esotropia
H50.1
Exotropia
H50.2
Vertical strabismus
H50.4
Other heterotropia
H50.5
Heterophoria
H50.6
Browns syndrome
H50.8
Duanes syndrome
H51.1
Convergence insuff./ excess
H51.2
Internuclear ophthalmoplegia
H51.8
Other disorders of binoc. Movement
REFRACTIVE
ERRORS
H52.0
Hyperopia
H52.1
Myopia
H52.2
Astigmatism
H52.4
Presbyopia
H52.5
Disorders of accommodation
H52.6
Other disorders of refraction
VISUAL
DISTURBANCES
H53.0
Amblyopia
H53.1
Asthenopia
H53.2
Diplopia
H53.4
Visual field defects
H53.5
Color vision deficiency
H53.8
Other visual disturbances
BLINDNESS &
LOW VISION
H54.0
Blindness , both eyes
H54.1
Blindness , one eye , low vision other eye
H54.2
Low vision , both eye
H54.4
Blindness , one eye
H54.5
Low vision , one eye
OTHERS
H55
Nystagmus
H57.0
Anomaly of pupillary function
H57.1
Ocular pain
C69
Malignant neoplasm of eye & adnexa
D31
Benign neoplasm of eye & adnexa
Z01.0
Eyes examination
Z03
Observation & evaluation for suspected disease
Z09.0
Follow-up examination after surgery
CONGENITAL
MALFORMATIONS
Q01
Encephalocele
Q10.0
Congenital ptosis
Q11
Anophthalmos , Microphthalmos,Macrophthalmos
Q12.0
Congenital cataract
Q15.0
Congenital glaucoma
Q15.8
Other congenital malformations of eye
INJURY
S02.8
Fracture of orbit
S04
Injury of optic nerve and pathways
S04.1
Injury of
oculomotor nerve
S05.1
Traumatic hyphema
S05.9
Other injuries of
eye and orbit
note
**.8 = Other disorders
รหัสหัตถการทางตา ICD-9CM
Operation
on eyelids/eyebrow
O801
Severing of blepharorrhaphy
O802
Severing of blepharorrhaphy,split of tarsorrhaphy
O811
Biopsy of eyelid
O822
Excision of other minor lesion of eyelid
O824
Excision of major lesion of eyelid
O842
Repair entropion or ectropion by suture technique
O843
Repair entropion or ectropion by wedge resection
O844
Repair entropion or ectropion with
lid reconstruction
O852
Blepharorrhaphy
,temporary,permanent
O871
Reconstruction
of eyelid involving lid margin,partial thickness
O873
Reconstruction
of eyelid involving lid margin ,full thickness
O882
Repair laceration lid margin ,partial thickness
O884
Repair laceration lid margin ,full thickness
O831
Frontalis sling with suture
O833
Levator resection
O859
Other
adjust lid position,repair of epicanthal fold,canthoplasty
O886
Lower blepharoplasty
O887
Upper blepharoplasty
Operation
on lacrimal system
O941
Probing of lacrimal punctum,dilatation of punctum
O942
Probing canaliculi ,remove FB,dacryolith
O943
Probing nasolacrimal duct
O944
Intubing of nasolacrimal duct
O973
Repair canaliculi
O981
DCR
O982
CDCR
O999
Other operation on lacrimal system
Operation
on conjunctiva
102
Diagnostic
procedure on conjunctiva,biopsy
1041
Repair
of symblepharon with free graft
1042
Reconstruction of conjnctival
cul-de-sac with free graft
106
Repair
of laceration of conjunctiva
1091
Subconjunctival injection/sub
tenonscapsule
1043
Removal of superficial foreign
body from eye without incision
Operation on cornea
9821
Diagnostic
procedures on cornea,scrape ,smear,culture
112
Pterygium
excision
1122
Biopsy
of cornea
1139
Excion
of pterygium with conjunctival graft
1151
Suture
of cornea laceration
9822
Repair
of cornea laceration or wound with conjunctival flap or glue
1159
Other
repair cornea ,AMT
1162
LK
1163
PK
1191
Tattooing
of cornea
Operation
on iris,ciliary body,sclera,anterior chamber
120
Remove
IOFB from anterior segment
1214
Other
iridectomy,PI
1221
Diagnostic
aspiration of anterior chamber
1231
Lysis
of goniosynechiae
1232
Lysis
of other anterior synechiae
1233
Lysis
of posterior synechiae
1253
Goniotomy
with goniopuncture
1254
Trabeculoty
1255
Cyclodialysis
1264
Trabeculectomy,re-op
1265
Revision
of filtering bleb
1269
Fistulizing
procedure,Moltino,Shunt
1281
Repair
of sclera
1282
Resuture
of operative wound dehiscence
Operation on lens
131
ICCE
132
ECCE
133
Lens
aspiration
1341
Phacoemulsification
1342
Lensectomy
1370
Reposition
IOL
1371
Iol
implantation
1372
Secondary
IOL implantation ,Exchange of IOL
Opetration on retina viteous posterior segment
1401
Remove
FB with magnet
1402
Remove
FB without magnet
1431
Repair
of retinal tear by diathermy,no RD
1432
Repair
of retinal tear by cryotherapy,no RD
1433
Repair
of retinal tear by laser photocoagulation,no RD
144
SBP
1451
Repair
RD with diathermy,subretinal fluid drainage
1452
Repair
RD with cryptherapy,subretinal fluid drainage
9823
Repair
RD with laser photocoagulation, subretinal drainage
1459
Other
repair RD
146
Removeal
of scleral buckle
1471
Open
sky anterior vitrectomy
1472
Vitreous
tapping
1473
Anterior
vitrectomy with machine
1474
PPV
1475
Fluid
gas exchange
1479
Other
operation on vitreous
149
Other
operation on retina,choroids ,posterior chamber
Operation on extraocular muscle
151
Recession
or Resection on one muscle MR/LR/SO/IO
153
Two
or more muscles,R-R procedure
155
Transposition
of extraocular muscles
156
Revision
of extraocular muscle surgery
157
Repair
injury of extraocular muscle
159
Other
operations on extraocular muscle and tendon
Operation on orbits and eyeball
1609
Orbitotomy
,Optic nerve sheath decompression ,drainage retrobulbar abscess
1631
Evisceration
1641
Enucleation
9824
Exenteration
of orbit with removal of adjacent structure
9825
Exenteration
of orbit with therapeutic removal of orbital bone
1659
Exenteration
of orbit with temporalis muscle transplant
1660
Secondary
insertion of ocular implant
167
Removal
of ocular or orbital implant
1691
Retrobulbar
injection of therapeutic agent
NOTE
ตอนที่ 3
หัตถการทางจักษุวิทยาที่ควรทราบ
Ophthalmic
Anesthesia
คุณสมบัติ |
Lidocaine2% |
Bupivacaine0.5% |
Trade
name |
Xylocaine |
Marcaine |
Onset |
5-10
min. |
15-20
min. |
Duration |
1-2
hr. |
5-10
hr. |
Facial block
การเตรียมยา
: ผสม
Wydase 1
vial in Lidocaine 2% 20 cc. และ Wydase
1 vial in Bupivacaine 0.5% Þ
Draw Lidocaine 2.5 cc.+Bupivacaine 2.5 cc. In syringe 5 cc.+ Disposable needle
No.25 1 1/2 inchs
วิธีที่
1 :
Classic Van Lint Technique
แทงเข็ม 1 cm.หลัง Lateral margin of orbit ที่ระดับ
Inferior
orbital rim Þ ฉีด small wheal at entry site Þ แทงเข็มลึกถึง bone แล้วฉีดยาชา
~ 0.5cc.Þ
แทงเข็มทาง Horizontal
และฉีดยาชา
1-2 cc
subcut along inferotemporal orbital
rim while withdrawing needle Þ
แทงเข็มทาง superonasal
และฉีดยาชาตาม
superotemporal
orbital rim
วิธีที่
2 :
Modified Van Lint Technique
แทงเข็ม 1 cm.จาก lateral canthus ทางหางตา
Þ ฉีด small whealÞ
แทงเข็มใน subcut
space ทาง
superiorly และทาง
slightly
anteriorly และฉีดยาชา
1-2 cc.พร้อมถอยเข็มออก
Þ
อาจเพิ่มแทงเข็มที่ 1
cm.inferonasal จากตำแหน่งเดิม
แทงเข็มตาม inferior
orbital rim พร้อมฉีดยาชา
1-2 cc.ขณะถอยเข็มออก
วิธีที่
3 :
OBrien Technique
ให้คนไข้อ้า-หุบปาก คลำตำแหน่ง Condyloid process of mandible ที่
1 cm,หน้าต่อ
Tragus และ
inferior
to zygomatic process Þ
แทงเข็มจนเกือบถึง Periosteum
ฉีดยาชาขณะถอนเข็มออก
วิธีที่
4 :
Atkinson Technique
แทงเข็มเข้า Subcut.ที่ Inferior edge zygomatic bone directly below
lateral orbital rim Þ
แทงเข็มตาม Zygomatic
arch โดยชี้ขึ้น
30 องศาไปทาง
top of ear
Þ ฉีดยาชา 3-4 cc.ขณะถอนเข็มออก
Complication : Temporomandibular joint arthritis,Excessive lid swelling
Retrobulbar
block (เข็ม
No.25 ยาว
1 1/2 นิ้ว, ยาชา 2 cc)
ให้คนไข้มองขึ้นและด้านตรงข้ามกับตาที่จะฉีดยา
Þ
แทงเข็มตั้งฉากับผิวหนังที่ตำแหน่ง
1/3 จาก
Lateral to
Medial canthus just superior to inferior orbital rim Þ
อาจฉีดยาชา subcut.0.5
cc.Þ
แทงเข็มลงไปประมาณ 1
cm.ผ่าน
septum
& Equator globe แล้วแทงเข็มต่อทาง
Superonasal
ทำมุม~ 30 องศาเข้า muscle cone Þ
Gentry move needle ว่า
globe ไม่ขยับตามแล้วให้
draw
syringe ว่าไม่เข้า
blood
vessel Þ ฉีดยาช้าๆประมาณ 2 cc.Þ
ถอนเข็มและ apply
pressure กัน
hemorrhage
และช่วยการกระจายยา
(ควรคลายทุก
30 วินาทีเพื่อหลีกเลี่ยง
Retinal
vascular compromise)
Complication : Retrobulbar hemorrhage, CRAO,
Intravascular
anesthetic injection, Perforation of eye, Intraocular anesthetic injection,
optic nerve injury, Respiratory & Cardiovascular depression
Corneal Foreign
Body Removal
หยอดยาชา
ให้คนไข้นอนหรือนั่งหน้า Slit
lamp Þ เตรียมเข็ม No.25 หรือ 26 ยาว 1/2 นิ้วต่อกับ
syringe Þ ดัดโคน Needle ให้โค้งพอเหมาะมือ
Þ
เขี่ย FB.จากด้านหลัง
รวมทั้ง rust
ring ด้วย
Þ หยด 1%Cyclogyl ตามด้วย
Terramycin
eo.& Pressure patch 24 ชม.
Þ
นัด FU.ที่
24 ชม.,ให้
Topical
antibiotic(เช่น
Poly - oph
ed.) วันละ
4 ครั้งนาน
5 วัน
Chalazion
Incision and Drainage
หยอดยาชา & ฉีด 1-2CC.Lidocaine with adrenaline subcut &
subconjunctiva ใกล้บริเวณ
planned
incision(ไม่เข้าใน
chalazion)
Þ Prep & Drape Þ ใส่ Chalazion clamp Þ
ใช้มีด No.11
กรีด
Conjunctiva
vertically into tarsus ยาว
~ 3 mm(ไม่ควรใกล้
lid margin
เกิน
2 mm.เพื่อหลีกเลี่ยง
postop lid
notch) Þ Curettage lipogranulomatous material Þ Remove chalazion clamp Þ ป้าย Antibiotic ointment & Patch 6-24 ชม.
Þ ให้ Topical antibiotic & Warm compresses วันละ
4 ครั้งนาน
7 วัน
Pterygium
Excision
วิธีทำ
: paint ทำความสะอาด
& ใส่
lids
speculum & หยอดยาชา
Þ ใช้กรรไกรตัด head ออกจาก
body
pterygium ที่
limbus Þ clear บริเวณ body ออกจาก sclera Þ
ใช้ forcep
จับ
head
pterygium ทาง
limbus ยกขึ้น
& ใช้
blade ตั้งฉากกับ
cornea ขูดจากทาง
limbus
ไป center
จน head
หลุด
Þ ตัดส่วน body ไม่ให้มี exposed tenon(อาจพิจารณาเย็บ
conjunctiva
บน &
ล่าง
หรือกับ sclera)
Þ ถ้าจะวาง b
ray dose ~2000 rad(~45sec)
ข้อสังเกต
- การ stop bleed ให้ใช้
cotton bud
กด
ไม่ควรใช้จี้เพราะจะทำให้ recurrent
ง่าย
- ไม่ควรเหลือ
bare
sclera เกิน
3 mm.เพราะอาจเกิด
granulation
tissue และมี
recurrent ง่าย,ถ้าเป็น
case
recurrent บ่อยอาจให้กิน
Vit.E
& Vit.C ด้วย
- ทดลองให้คนไข้กลอกตาไปด้าน
pterygium ถ้า
conjunctiva
แตะ
cornea ให้เย็บ
fix
conjunctiva(กัน
early
recurrent) ระวังปลาย
conjunctiva
ม้วนเข้า(เกิด
cyst) หรือม้วนออกด้วย
วิธีทำ
Pterygium
excision with graft
หลังจากลอก pterygium วิธีปกติแล้ว
Þ เลือก Donor site(มัก
superotemporal
bulbar conjunctiva) Þ
Dissect thin conjunctiva flap เบาๆ(ไม่ต้องเย็บ
donor
site) Þ เย็บติด recipient site กับ
scleral
bed ด้วย
interrupted
7-0 Vicryl (ระวัง
Graft สลับด้านบน
& ล่าง)
Þ ปิดตาเหมือนปกติ
Evisceration
General or Retrobulbar anesthesia + Lid block Þ Prep & Drape Þ ใส่ Lid speculum Þ
ใช้ Westcott
เปิด
Limbal
peritomy 360 องศา
Þ ใช้มีดเจาะเข้า A/C ที่
limbus
& ใช้กรรไกร
remove
cornea at limbus Þ
ใช้ spoon
disinsert uvea จาก
scleral
spur & ตัก
Intraocular
content ออก
Þ Pack gauze ชุบ
NSS 10 นาที(stop
bleed) Þ Remove residual tissue,ใช้
gauze ชุบ
alcohol เช็ดใน
scleral
cavity แล้วใช้
balanced
salt solution irrigate Þ Excise small triangle sclera at 3 &
9 oclock Þ
ใส่ Silicone
ball(14 or 16 mm) into scleral shell Þ
Close sclera(interrupted 5-0 chromic gut) Þ
Close tenon(interrupted or running 5-0 chromic gut) Þ
Close conjunctiva(running or interrupt 6-0 plain gut or vicryl) Þ ใส่ Conformer ,Antibiotic ointment & Firm
pressure dressing Þ
Replace dressing after 48 hr.+ Antibiotic ointment วันละ 3 ครั้งนาน
3 สัปดาห์
Þ May fit prosthesis in 6 weeks.
การผ่าตัดต้อกระจก (ECCE + IOL)
n
ปรับกล้อง (ขนาด Pupillary distance, Power eyepieces)
n
Scrub มือ
(อย่างน้อย
1 แปรง)
, ใส่เสื้อ
Sterile
& ถุงมือ
& อ้อมเสื้อ
Þ ล้างแป้งถุงมือ
n
ใช้ povidine ทำความสะอาดหน้าคนไข้ทั้งหน้า(อาจยกเว้นใต้ปากลงไป)
n
ปูผ้าใต้หัวคนไข้โดยพับทบกลับประมาณ1/5
Þ
ให้คนไข้ยกหัววางสอดใต้หัวคนไข้
Þ
ผ้าผืนล่างให้ผู้ช่วยดึงไปปิดไหล่ผู้ป่วย
Þ
ผ้าผืนบนตลบปิดมาทางหัวคนไข้ทางตาข้างไม่ผ่าผิดข้ามจมูกคนไข้
Þ
ตลบทางตาข้างผ่าถึงห่างหางตาประมาณ
2 นิ้วฟุต
Þ
ตลบปลายผ้าทางด้านหัวคนไข้ไปเหน็บข้างหัวคนไข้ด้านตาข้างจะผ่าตัด
Þ
วางสายอ๊อกซิเจนให้คนติด tape
fix ไว้
Þ
คลุมผ้าผืนยาวทางด้านใต้ตาคนไข้ลงไป
Þ ฉีก OpSite สีเขียวหนึ่งด้านแล้วฉีกครึ่งติดเปลือกตาบน
& ล่างของคนไข้(อาจติดขนตาไปด้วย)เปิดตาให้กว้างๆยึดติดกับผ้าปูเขียว
Þ
ปูผ้าเจาะกลางโดยให้รูเจาะกลางอยู่ตรงตาข้างจะผ่าตัด
Þ ติด OpSite โดยจับ 2 มือ
ด้านที่ยังมีแถบสีเขียวอยู่ข้างตาข้างผ่าตัด
ติดจากด้าน Temporal
ก่อนให้แนบกับผิวหนังไปจนถึงใกล้จมูก(หย่อนลงหน่อย)ติดจนหมดแผ่น
Þ ใช้กรรไกรตัด OpSite บริเวณลูกตาจากทาง
Temporal โดยเว้นให้ห่างขอบตาล่างประมาณ
1/3 ระยะจากขอบตาบนไปขอบตาล่าง
โดยกระดกปลายกรรไกรขึ้นจนถึงบริเวณจมูก
Þ
ใส่ Lids
Retractor โดยม้วนปลาย
OpSite ให้เก็บขอบ
Eyelids ให้เรียบร้อย
n
สวมที่จับกล้อง
Microscope
sterile Þ
เลื่อนกล้องมาตำแหน่งที่ถนัด
Þ
ผู้ช่วยถือขวดหยอด NSS
คอยหยอดน้ำที่
Cornea ทุก
2-3 นาที(หรือเมื่อสังเกตว่า
Cornea แห้งทำให้เห็น
field ไม่ชัดเจน)
ขั้นตอนการผ่าตัด
ECCE+IOL
n
เย็บ Bridle suture ด้วย
Silk 6-0
(Fixed SR)
n
เปิด Peritomy ที่
n
Groove incision ใช้
blade
no.11 ยาวประมาณ
6.5 mm.(ลงในบริเวณ
Surgical
limbus)
n
ดัดปลายเข็ม no.26
พยายามดัดเฉพาะปลายเข็ม~1/4 ของ bevel
n
เข้า Anterior chamber พยายาม
form
chamber ไว้ตลอด
อาจใส่ air
ในกรณีเป็น
Mature or
Hypermature
n
ใช้เข็มที่ดัดไว้ทำ
Capsulorhexis
or Capsulotomy
n
Corneoscleral incision โดย
Right
& Left angle scissors
n
เย็บ Preplaced suture ที่
2 ริมของแผล
ด้วย Nylon
8-0
n
Lens delivery โดย
Apply
pressure ใช้เข็มขวดน้ำ
cornea ที่ปากแผลก่อน
แล้วจึงเปลี่ยนใช้ Forcep 0.12 ที่ 12 น.
ก่อนใช้เข็มขวดน้ำ
cornea กดที่
6 น.(Apply
pressure อย่ามากเพราะจะทำให้
tear
zonule ได้)
n
ผูก Preplaced suture เพื่อ
Closed
chamber
n
ใช้ Simco irrigation ดูด
cortex ที่เหลือ
ต้องระวัง Posterior
capsule ให้มาก
พยายามอย่าให้ flat
chamber
n
Open bag โดยฉีด
Viscoelastic
agent แล้วใส่
IOL in the
bag
n
Close wound ด้วย
Nylon 10-0
โดยอาจ
Continuous
sutured or Interrupted suture(เย็บประมาณ 90%ความหนา
cornea&sclera
n
พยายาม irrigate viscoelastic ให้หมด(เพื่อไม่ให้postop.IOP)
n
ในกรณีต้องการ
Constricted
pupil อาจฉีด
Myochol or
Mycostat intracamera
n
Subconjunc. Antibiotic & Steroid บริเวณ
Conjunc ที่แผล,อาจ
Coag.conjunc.ปิดแผล
Reference
1.Clinical
Ophthalmology ; Kanski Fourth edition
2.Ophthalmic
Surgical Procedures ; Peter S.Hersh ,M.D.
3.Basic
and Clinical Science Course ; AAO vol.1-14
NOTE